ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาสนวิหารอาเมียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ.ในบทความนี้ -->
{{กล่องข้อมูล วัดคริสต์ศาสนา
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = [[ไฟล์:Logo monument classe.svg|18px]] อาสนวิหารแม่พระแห่งอาเมียง
เส้น 10 ⟶ 9:
| นิกาย = [[โรมันคาทอลิก]]
| เสก =
| เมืองที่ตั้ง = [[อาเมียง]] [[จังหวัดในประเทศฝรั่งเศส|จังหวัด]][[จังหวัดซอม|ซอม]]
| ประเทศที่ตั้ง = [[ไฟล์:Flag of France.svg|22px]] [[ประเทศฝรั่งเศส]]
| เจ้าของ =
| ปีสร้างครั้งแรก =
เส้น 25 ⟶ 24:
| แขนกางเขน = ยาว {{convert|70|m}}
| ขนาดสัดส่วน = ยาว {{convert|145|m}} </br>กว้าง {{convert|30.65|m}}
| รายละเอียดอื่น = หอทิศเหนือสูง {{convert|68.19|m}}</br><small>(เท่ากันกับที่[[อาสนวิหารนอทร์น็อทร์-ดามแห่งปารีส|ปารีส]])</small>
| แบบผัง = [[แผนผังอาสนวิหาร|กางเขน]]
| พื้นที่ = 7,700 ตารางเมตร
| ผู้ก่อสร้างรับเหมา =
| สถาปนิก = รอแบร์ เดอ ลูว์ซาร์ช (Robert de Luzarches)
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน =
เส้น 37 ⟶ 36:
| พิกัดภูมิศาสตร์ = {{Coord|49|53|40|N|2|18|07|E|type:landmark_region:FR}}
| เว็บไซต์ = http://catholique-amiens.cef.fr/
|หมายเหตุ =[[ไฟล์:Logo monument classe.svg|18px]] [[อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส|อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์]]<small>(ค.ศ. 1840)</small></br>[[ไฟล์:World Heritage logo.png|18px]] [[มรดกโลก]] <small>(ค.ศ. 1981)</small>
}}
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
เส้น 50 ⟶ 49:
}}
[[ไฟล์:Amiens cathedral 008.JPG|thumb|250px|รูปสลักนักบุญด้านหน้าอาสนวิหาร]]
'''อาสนวิหารอาเมียง''' ({{lang-enfr|AmiensCathédrale Cathedrald'Amiens}}) มีชื่อเต็มว่า '''อาสนวิหารแม่พระแห่งอาเมียง''' ({{lang-|fr|Cathédrale Notre-Dame d'Amiens}}) เป็น[[อาสนวิหาร]]ที่สูงที่สุดใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] มีฐานะเป็น[[อาสนวิหาร]]ประจำ[[มุขมณฑล]]อาเมียง มีเนื้อที่ภายในกว้างใหญ่ถึง 200,000 ตารางเมตร หลังคาโค้ง[[สถาปัตยกรรมกอทิก|กอทิก]]สูง 42.30 เมตรซึ่งเป็นหลังคาแบบ[[สถาปัตยกรรมกอทิก|แบบกอทิก]]ที่สูงที่สุดในฝรั่งเศส ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมือง[[อาเมียง|อาเมียง]] ซึ่งเป็นเมืองสำคัญของ[[แคว้นโอดฟร็องส์]]ในหุบเขาซอม (Somme) อยู่เหนือห่างจากกรุง[[ปารีส]]ไปทางทิศเหนือประมาณ 100 กิโลเมตร
 
== ประวัติ ==
ด้านหน้าโบสถ์สร้างครั้งเดียวเสร็จระหว่างปี ค.ศ. 1220 ถึง ค.ศ. 1236 ลักษณะจึงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ตอนล่างสุดของด้านหน้าโบสถ์เป็นประตูเว้าลึกใหญ่สามประตู เหนือระดับประตูขึ้นไปชั้นหนึ่งเป็นหินสลักขนาดใหญ่กว่าองค์จริงของพระเจ้าแผ่นดิน 22 พระองค์เรียงเป็นแนวตลอดด้านหน้าอาสนวิหารภายใต้[[หน้าต่างกุหลาบ]] สองข้างด้านหน้าประกบด้วยหอใหญ่สองหอ หอด้านใต้สร้างเสร็จเมื่อปี ค. ศ. 1366 หอทางทิศเหนือสร้างเสร็จ 40 ปีต่อมาเมื่อปี ค. ศ. 1406 และเป็นหอที่สูงกว่า
 
เอกสารที่เกี่ยวกับประวัติการสร้างอาสนวิหารนี้ถูกทำลายไปหมดเมื่อสถานที่เก็บรักษาเอกสารสำคัญของโบสถ์ถูกไฟไหม้ไปเมื่อปีค. ศ. 1218 และอีกครั้งเมื่อปี ค. ศ. 1258 ครั้งหลังนี้ไฟได้ทำลายตัวอาสนวิหารด้วย ต่อมา[[มุขนายก|พระสังฆราช]]เอวราร์เดอฟูยีราร์ (Bishop Evrard deเดอ Fouilly)ฟูยี เริ่มสร้างอาสนวิหารใหม่แทนอาสนวิหารเดิมที่ไหม้ไปเมื่อ ค. ศ. 1220 โดยมีรอแบร์ เดอ ลูซาร์ช (Robert de Luzarches) เป็น[[สถาปนิก]] และลูกชายของรอแบร์ คือ เรอโน เดอ กอร์มง (Renaud de Cormont) เป็นสถาปนิกต่อมาจนถึง ค. ศ. 1288
 
จดหมายเหตุกอร์บี (Chronicle of Corbie) บันทึกไว้ว่าอาสนวิหารสร้างเสร็จเมื่อ ค. ศ. 1266 แต่ก็ยังมีการปิดงานต่อมา พื้นโถงกลางภายในอาสนวิหารตกแต่งเป็นลวดลายต่าง ๆ หลายชนิดรวมทั้งลาย[[สวัสดิกะ]][http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:Amiens-pavement-swastika.jpg] ลายวนเขาวงกต (labyrinth) ซึ่งปูเมื่อปีค. ศ. 1288 นอกจากนั้นก็มีระเบียงรูปปั้นไม่ใหญ่นัก 3 ระเบียง 2 ระเบียงอยู่ด้านเหนือและด้านใต้ของบริเวณร้องเพลงสวด และระเบียงที่ 3 อยู่ทางด้านตะวันเหนือของแขนกางเขน เป็นเรื่องราวของ[[นักบุญ]]ต่าง ๆ รวมทั้งชีวประวัติของนักบุญ[[ยอห์นแบปติสต์ยอห์นผู้ให้บัพติศมา]] อาสนวิหารกล่าวว่าเป็นเจ้าของ[[เรลิก]]ชิ้นสำคัญคือศีรษะของนักบุญยอห์นแบปติสต์ยอห์นผู้ให้บัพติศมา ซึ่งวัดได้มาจาก วอลลันวาลง เดอ ซาตอง (Wallon de Sarton)ซาร์ตง ผู้ไปนำมาจาก[[คอนสแตนติโนเปิล]] เมื่อกลับมาจาก[[สงครามครูเสด]] ครั้งที่ 4
 
รูปปั้นด้านหน้าข้างประตูอาสนวิหารที่บอกได้ว่าเป็นนักบุญที่มาจากแถว ๆ อาเมียงก็ได้แก่ นักบุญวิกโตรีตอริกุส, ฟูเซียน,ฟุสกิอัน และเจ็นเตียง (St. Victoricus, St. Fuscian, และ St. Gentian)แก็นติอัน มรณสักขีไม่นานจากกันในคริสต์ศควรรษที่คริสต์ศตวรรษที่ 3 กล่าวกันว่าเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 [[บิชอป]]โฮมุขนายกฮอโนราตุส (Bishop Honoratus) ผู้เป็น[[บิชอป]]มุขนายกองค์ที่ 7 ของอาสนวิหารอาเมียงได้ขุดพบ[[เรลิก]]ของนักบุญทั้งสาม เมื่อพระเจ้าฌีลเดอแบร์ที่ชีลเดอแบร์ที่ 2 แห่งปารีส (Childebert II) พยายามยึด[[เรลิก]]ก็ไม่สามารถทำได้ เมื่อไม่สามารถทำได้ก็ทรงอุทิศเงินก้อนใหญ่ให้กลุ่มลัทธิของผู้นิยมนักบุญทั้งสามและทรงส่งช่างทองมาทำเครื่องตกแต่งเพื่อเป็นเกียรติแก่นักบุญ<ref name="mcah.columbia.edu">[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/body.html ด้านหน้าอาสนวิหารอาเมียง (Columbia.edu)]</ref>
 
นักบุญอื่นที่เป็นนักบุญท้องถิ่นที่มีรูปปั้นอยู่หน้าประตูคือนักบุญโดมิเทียส (St. Domitius) ดอมิสในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ผู้เคยเป็นนักบวชที่อาสนวิหาร นักบุญอุลเฟีย (St. Ulphia) อูลฟ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ผู้เคยเป็นลูกศิษย์ของนักบุญอุลเฟียอูลฟ์และเป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มสตรีผู้เคร่งศาสนาในบริเวณอาเมียง นักบุญแฟแมง (St. Fermin) เฟร์มินในคริสต์ศตวรรษที่ 3 ผู้ถูกประหารชีวิตที่อาเมียง <ref>[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/footnotes.html ด้านหน้าอาสนวิหารอาเมียง (Columbia.edu)]</ref>
 
== ประตูด้านหน้าอาสนวิหารและหน้าบัน ==
[[ไฟล์:Amiens cathedral 029.JPG|thumb|250px|ประตูใหญ่สามประตูด้านหน้า -- ซ้ายประตูนักบุญแฟร์แมงเฟร์มิน กลางประตูการตัดสินครั้งสุดท้าย ขวาประตูพระแม่มารีรีย์]]
[[ไฟล์:Amiens cathedral 030.JPG|thumb|250px|แสดงรูปสลักเหนือประตูกลาง รูปวัดตัดสินสุดท้ายที่มีพระเยซูกลับมาเป็นประธานล้อมรอบด้วยแนวรูปปั้นใหญ่สองข้างและรูปปั้นเล็กรายรอบโค้งแหลมเหนือรูปสลักใหญ่]]
ประตูทางเข้าอาสนวิหารด้านหน้าเป็นประตูใหญ่สามประตูเว้าลึกเข้าไปในตัวอาสนวิหาร เหนือแต่ละประตูตกแต่งมีภาพแกะสลักใหญ่ที่[[หน้าบัน]] ล้อมเป็นกรอบสองข้างประตูรายด้วยรูปแกะสลักใหญ่กว่าคนของนักบุญและศาสดายืนบนแท่นที่ภายใต้ฐานที่มีผู้แบกเล็กๆเล็ก ๆ อยู่ กรอบด้านบนโค้งเป็นรูปสลักเล็กๆเล็ก ๆ เรียงเป็นแนว
 
ประตูที่สำคัญที่สุดเป็นรูปสลักเมื่อพระเยซูทรงกลับมาเป็นประธานในการตัดสินครั้งสุดท้าย (Resurrection of the Body และ Last Judgement) กลางรูปจะเป็นพระเยซูทรงนั่งเป็นประธานในการเลือกว่าผู้ใดจะได้เลือกขึ้นสวรรค์และผู้ใดจะถูกส่งลงนรก สองข้างพระองค์จะมี[[พระแม่มารีย์]] และ[[ยอห์นอัครทูต]] และทูตสวรรค์ถืออุปกรณ์ที่เกี่ยวกับที่พระเยซูถูกตรึงกางเขน และหมู่ทูตสวรรค์ ในวันการตัดสินครั้งสุดท้าย มนุษย์ทุกคนที่เคยมีชีวิตอยู่ในโลกก็ฟื้นขึ้นมาจากหลุมศพเพื่อจะได้ถูกตัดสิน ผู้ที่ได้เลือกขึ้นสวรรค์ก็จะมีหน้าตาอิ่มเอิบมีนางฟ้าเทวดารอรับอยู่ กลุ่มนี้เรียกว่า "the Elect”Elect" อีกกลุ่มหนึ่งที่ถูกส่งลงนรกจะเรียกว่า "the Damned”Damned" กลุ่มหลังนี้ประติมากรแกะภาพสยดสยองต่างของผู้ตกนรกที่ถูกไล่เสียบแทงโดยปีศาจอสุรกายต่างๆต่าง ๆ<ref name="mcah.columbia.edu"/><ref>[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/body.html The Portals, Access to Redemption by Professor Stephen Murray (ประตูอาสนวิหารโดยศาสตราจารย์ สตีเวน เมอร์รีย์)]</ref>
<ref>[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/body.html The Portals, Access to Redemption by Professor Stephen Murray (ประตูอาสนวิหารโดยศาสตราจารย์สตีเฟน เมอร์เรย์)]</ref>
 
ประตูที่ด้านขวาเป็นประตูเทิดพระเกียรติพระแม่มารีย์ ตรงกลางเป็นรูปพระแม่มารีย์ห่มผ้ายาวอุ้มพระเยซูในมือซ้าย มือขวายื่นออกไปราวจะต้อนรับผู้มีศรัทธาเข้าสู่โบสถ์ ประตูด้านซ้ายเป็นประตูนักบุญแฟแมงเฟร์มินซึ่งเป็นนักบุญท้องถิ่น<ref name="mcah.columbia.edu"/>
 
ทุกปีทางโบสถ์จะจัดให้มีการแสดงแสงเสียงด้านหน้าวัดที่น่าประทับใจโดยการเล่าเรื่องราวความเป็นมาของโบสถ์ ที่น่าสนใจที่สุดก็คือการแสดงการส่องแสง (''Son et lumière'') สีเสียงที่พยายามแสดงให้เห็นว่าหน้าโบสถ์ยุคกลางที่เคยเป็นสีสันฉูดฉาดซึ่งปัจจุบันเป็นเพียงสีหินธรรมชาติเรียบ ๆ เป็นอย่างไร
 
อาสนวิหารอาเมียงได้รับเลือกโดยองค์การ[[ยูเนสโก]]ให้ขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]เมื่อปี ค.ศ. 1981
 
== อ้างอิง ==
เส้น 93 ⟶ 91:
ภาพ:Amiens cathedral floorplan 03.JPG|[[แผนผังอาสนวิหาร]]
ภาพ:Amiens cathedral floorplan 04.JPG|แผนผังอาสนวิหารด้านข้าง
ภาพ:AmiensCathedral-North01.jpg|มองจากทางเหนือจะเห็นกำแพงค้ำยันแบบปีกและยอด[[มณฑป]] เหนือ[[จุดตัด]]ของผังกางเขน
ภาพ:ND Amiens chevet 1.jpg|มุมด้านหลัง หรือ ด้าน“ด้านตะวันออก”ออก
ภาพ:Amiens cathedral nave-west.jpg|[[ทางเดินกลาง]]มองไปทางด้านหน้าหรือด้านตะวันตกของโบสถ์ (ค. ศ. 2005)
ภาพ:ND Amiens Gargouilles 20.jpg|[[ปนาลี]]และรายละเอียดการแกะสลัก
ภาพ:Amiens cathedral 002.JPG|หน้าต่างกระจกด้านหน้าอาสนวิหารเป็นลาย“ฉลุ”ลายฉลุหินอย่างลูกไม้
ภาพ:Amiens cathedral 017.JPG|หน้าต่างกระจกจากภายใน
ภาพ:Amiens cathedral 004.JPG|รูปสลักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสภายใต้หน้าต่างกุหลาบ
เส้น 103 ⟶ 101:
ภาพ:Amiens cathedral 012.JPG|รูปสลักใต้ฐาน
ภาพ:Amiens cathedral 016.JPG|รายละเอียดบนผนังด้านหน้าอาสนวิหาร
ภาพ:Amiens cathedral 022.JPG|ระเบียงภาพประวัตินักบุญ[[ยอห์นแบปติสต์]]ยอห์นผู้ให้บัพติศมา
ภาพ:Amiens cathedral Son et lumière 001.JPG|การแสดงแสงสีหน้าอาสนวิหาร
ภาพ:Amiens cathedral Son et lumière 004.JPG|การแสดงแสงสีหน้าอาสนวิหาร