ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วังสวนสุนันทา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Harit Thavornkit (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลของอาคารที่ถูกรื้อทิ้งไป
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = วังสวนสุนันทา
| ชื่อภาษาอื่น =
| ภาพ = WangSuanSunandha_1.jpg
| คำบรรยายภาพ = ตำหนักสายสุทธานภดล วังสวนสุนันทา
| สิ่งก่อสร้าง = [[เขตพระราชฐานชั้นในพระราชวังดุสิต]]
| เมืองที่ตั้ง = [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = [[ประเทศไทย]]
บรรทัด 27:
| หมายเหตุ =
}}
'''วังสวนสุนันทา''' เป็นเขตพระราชฐานภายในบริเวณชั้นในของ[[พระราชวังดุสิต]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มีพระราชดำริให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนที่ประทับของพระอิริยาบถแทนการภรรยาเจ้าและเจ้าจอมเมื่อพระองค์เสด็จประพาสหัวเมืองสวรรคตไปแล้ว โดยพระองค์มีพระราชประสงค์ให้สวนนี้มีลักษณะเป็นสวนป่า<ref>พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]], จดหมายเหตุพระราชกรณีกิจรายวัน ภาคที่ 22 (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพคุณหญิงเพิ่ม โชฎึกราชเศรษฐี)</ref> จึงโปรดเกล้าฯ ให้หาพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลที่ดีและหาได้ยากนานาชนิดมาปลูกไว้ในสวนแห่งนี้ด้วย ที่มาของชื่อสวนแห่งนี้มาจากชื่อสวนของพระอินทร์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งมีชื่อว่า "สุนันทาอุทยาน"<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, สวนสุนันทา, สำนักพิมพ์สวนสุนันทา มรภ, ISBN 974-421-655-7 หน้า 167</ref> และพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี พระมเหสีซึ่งเป็นที่รักยิ่งของพระองค์ นอกจากนี้พระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำหนักขึ้นเพื่อเตรียมไว้เป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายใน แต่เนื่องจากทว่าพระองค์เสด็จสวรรคตสวรรคเสียก่อน การสร้างก่อสร้างพระตำหนัก และตำหนักในสวนสนันทาจึงยังไม่แล้วเสร็จตามพระราชประสงค์มาเริ่มการก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ได้ทรงพระราชดำริว่าสถานที่ใน[[พระบรมมหาราชวัง]]ชั้นในคับแคบ ไม่เหมาะสมจะเป็นที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน จึงโปรดให้สร้างพระตำหนักและตึกในบริเวณสวนสุนันทาขึ้นอีกหลายหลัง<ref>พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 40</ref> แล้วโปรดให้เป็นที่ประทับของพระมเหสี เจ้าจอมมารดา เจ้าจอมและพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จำนวน 32 ตำหนัก รวมทั้งอาคารที่พักของบรรดาข้าซึ่งมีพระตำหนักองค์สำคัญๆ 4 หลังได้แก่ พระตำหนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชบริพารชนนีพันปีหลวง โดยมี[[พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระตำหนักสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และพระตำหนักพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]] แต่ทว่าพระตำหนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงนั้นได้เสด็จมีการหยุดการก่อสร้างเมื่อมีการก่ออาคารมาถึงฐานอันเนื่องมาจากทรงโปรดที่จะประทับที่พระตำหนักสายสุทธานภดลพญาไท (ตึกจึงได้มีการแก้แบบและก่อสร้างเป็นท้องพระโรงมีนามว่า 27)พระที่นั่งนงคราญสโมสร ตั้งแต่ส่วนสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พ.ศ.พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 2467 ถึง พ.ศ. 2472และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี (สิ้นพระชนม์ ณอัครราชเทวี เสด็จมาประทับที่พระตำหนักในช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะเสด็จไปประทับสวนสุนันทา) เนื่องจากในสมัยนั้นบรรดาขุนนาง ข้าราชการ ผู้มีบรรดาศักดิ์นิยมนำบุตรี และหลานที่วังของตนมาถวายตัวต่อพระวิมาดาเธอราชโอรสเป็นการถาวร โดยพระราชทานพระตำหนักเป็นจำนวนมากที่ประทับแก่เจ้านายที่อยู่ในความดูแลของพระองค์ จึงทำให้[[พระวิมาดาเธอ จึงทรงให้สร้างพระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ "โรงเรียนนิภาคาร"<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, สวนกรมพระสุนันทา,ทธาสินีนาฏ สำนักพิมพ์สวนสุนันทา มรภ, ISBNปิยมหาราชปดิวรัดา]] 974-421-655-7 หน้า 223</ref> ขึ้นภายในเป็นองค์ประธานของสวนสุนันทา สอนตามหลักสูตรการศึกษานันทาจนกระทั้งสิ้นพระชนม์ในสมัยนั้นปี รวมทั้งอบรมจริยาพ.ศ. มารยาท2472 การฝีมือ ให้เป็นกุลสตรี
 
ระหว่างที่พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดายังทรงพระชนม์อยู่นั้น บรรดาขุนนาง ข้าราชการ ผู้มีบรรดาศักดิ์นิยมนำบุตรี และหลานของตนมาถวายตัวต่อพระวิมาดาเธอ เป็นจำนวนมาก พระวิมาดาเธอ จึงทรงให้สร้าง "โรงเรียนนิภาคาร"<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, สวนสุนันทา, สำนักพิมพ์สวนสุนันทา มรภ, ISBN 974-421-655-7 หน้า 223</ref> ขึ้นภายในสวนสุนันทา สอนตามหลักสูตรการศึกษาในสมัยนั้น รวมทั้งอบรมจริยา มารยาท การฝีมือ ให้เป็นกุลสตรี
 
ครั้นถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้น บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ ในสวนสุนันทาหวั่นเกรงภัยจากการเมือง จึงได้ทะยอยกันออกไปจากสวนสุนันทาจนหมดสิ้น บางพระองค์ได้เสด็จออกไปอยู่หัวเมืองและหลายพระองค์เสด็จลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ โรงเรียนนิภาคารจึงเลิกดำเนินการไปโดยปริยาย นับแต่นั้นมาสวนสุนันทาที่เคยงดงามก็ถูกทอดทิ้ง ขาดการดูแลเอาใจใส่ ตำหนักต่างๆ ชำรุดทรุดโทรมเป็นอันมาก พื้นที่ภายในรกร้างว่างเปล่า ต่อมาในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เห็นว่าสวนสุนันทาถูกทอดทิ้งรกร้างอยู่มิได้ทำประโยชน์ จึงเห็นสมควรให้นายกรัฐมนตรีได้ใช้ประโยชน์ เป็นที่อยู่อาศัยของรัฐมนตรีและผู้แทนราษฎร แต่สภาผู้แทนราษฎรขอเพียงพื้นที่ภายนอกกำแพงติดถนนสามเสนสร้างเป็นบ้านพักของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น คณะรัฐมนตรีจึงลงมติเห็นสมควรว่า ควรใช้สถานที่นี้ให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและมอบให้กระทรวงธรรมการ ([[กระทรวงศึกษาธิการ]]ในปัจจุบัน) ดำเนินการจัดตั้งให้เป็นสถานศึกษาของชาติ และสถานที่ศึกษานี้ให้ชื่อโดยคงชื่อเดิมของสถานที่ เพื่อเป็นอนุสรณ์ โดยขนานนามว่า "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย " เริ่มเปิดการศึกษามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2480 เป็นต้นมา
เส้น 39 ⟶ 41:
[[ไฟล์:WangSuanSunandha_4.jpg|thumb|พระที่นั่งนงคราญสโมสร]]
 
==อาคารในสวนสุนันทา==
==*พระที่นั่งนงคราญสโมสร==
 
แรกเริ่มเดิมทีจะสร้างเป็นพระตำหนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง แต่เมื่อการก่อสร้างมาถึงส่วนฐานสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงโปรดที่พระตำหนักพญาไทและไม่มีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จไปประทับในส่วนสุนันทาจึงได้มีการแก้ไขแบบแปลนจัดสร้างขึ้นเป็นท้องพระโรงส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระราชทานนามพระที่นั่งว่า "พระที่นั่งนงคราญสโมสร" ซึ่งเป็นนามของพระที่นั่งในพระอภิเนาว์นิเวศน์ พระบรมมหาราชวังที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งก็เป็นท้องพระโรงฝ่ายในเช่นเดียวกัน โดยพระที่นั่งแห่งใหม่นี้ใช้สำหรับพระราชวงศ์พระองค์ใดก็ตาม จะทรงใช้ในการบำเพ็ญพระกุศลหรือจัดงานรื่นเริง ปัจจุบัน อยู่ในความดูแลของสำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง
พระที่นั่งนงคราญสโมสร เป็นพระที่นั่ง 2 ชั้น อยู่ถัดจากพระที่นั่งบรมพิมาน โดยใช้เป็นท้องพระโรงฝ่ายใน และเป็นที่เสวย ซึ่งพระที่นั่งองค์นี้เรียกได้ว่า เป็นที่ส่วนพระองค์โดยเฉพาะ มักใช้ประกอบพระราชพิธีที่สำคัญ ๆ อาทิเช่น พระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร พระราชพิธีโสกันต์สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ก็เริ่มต้นที่พระที่นั่งองค์นี้ อย่างไรก็ตาม พระที่นั่งองค์นี้ก็ได้ถูกรื้อลงในภายหลัง
#* พระตำหนัก[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]]
เป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าโดยพระองค์ประทับที่พระตำหนักหลังนี้จนกระทั้ง พระตำหนักใหญ่วังสระปทุมก่อสร้างแล้วเสร็จจึงเสด็จไปประทับที่วังสระปทุม และพระราชทานตำหนักให้เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยและ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการสร้างท้องพระโรงขึ้นในบริเวณสวนสุนันทา เมื่อปี พ.ศ. 2467 ซึ่งใช้เป็นท้องพระโรงส่วนกลาง พระราชทานนามพระที่นั่งว่า "พระที่นั่งนงคราญสโมสร" ดังนั้น นามพระที่นั่งนงคราญสโมสรจึงมาปรากฏ ณ สวนสุนันทา โดยพระที่นั่งองค์นี้ใช้สำหรับพระราชวงศ์พระองค์ใดก็ตาม จะทรงใช้ในการบำเพ็ญพระกุศลหรือจัดงานรื่นเริง ปัจจุบัน อยู่ในความดูแลของสำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง
#* พระตำหนัก[[สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]]
 
เป็นที่ประทับของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีโดยพระองค์เสด็จประทับที่พระตำหนักหลังนี้จนกระทั้งมีการก่อสร้างตำหนักสมเด็จที่วังบางขุนพรหม พระองค์จึงเสด็จไปประทับที่วังบางขุนพรหมเป็นการถาวร
[[ไฟล์:WangSuanSunandha_2.jpg|thumb|ตำหนักสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]]
* พระตำหนักสายสุทธานภดล
เป็นที่ประทับของพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ซึ่งแรกเริ่มเดิมทีเมื่อก่อสร้างนั้นมีลักษณะเหมือนกับพระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าและพระตำหนักสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี แต่ต่อมาพระองค์โปรดให้มีการต่อเติมขยายพระตำหนักจึงทำให้พระตำหนักหลังนี้แตกต่างจากรพระตำหนักทั้ง 2 พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ เสด็จประทับที่พระตำหนักหลังนี้จนกระทั้งสิ้นพระชนม์เมื่อปีพ.ศ. 2472
[[ไฟล์:WangSuanSunandha_3.jpg|thumb|ตำหนักสายสุทธานภดล]]
* ตำหนักมาลินีนพดารา
 
เป็นอาคารบริวารของพระตำหนักสายสุทธานภดลเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงมาลินีนพดาราสิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา มีลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นอาคารตะวันตกสูง 2 ชั้น ปัจจุบันตำหนักถูกรื้อลงแล้ว และเป็นที่ตั้งของอาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
==อาคารที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบัน==
#* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา]]เยาวภาพงศ์สนิท
# ตำหนัก[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]]
เป็นอาคารบริวารของพระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยและ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร มีลักษณะเป็นอาคารสูง 2 ชั้นตั้งอยู่บนเน้นเขา ตำหนักหลังนี้มาถูกรื้อลงในช่วงรัชกาลที่ 8
# ตำหนัก[[สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]]
* ตำหนักสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร
# ตำหนัก[[พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]]
เป็นอาคารบริวารของพระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นที่ประทับของสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ตำหนักหลังนี้ถูกรื้อลงในช่วงรัชกาลที่ 8
# ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา]]
#* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี]]อัพภันตรีปชา
# ตำหนัก[[ เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์]]อัพภันตรีปชา ปัจจุบันตัวพระตำหนักเป็นที่ตั้งของสำนักงานสวนดุสิตโพล
#* ตำหนัก[[ตำหนีกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ]] อรประพันธ์รำไพ
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ มีความแตกต่างจากตำหนักหลังอื่นๆคือมีสะพานเดินเชื่อมบริเวณชั้น 2 กับเรือนเจ้าจอมมารดาอ่อน ตำหนักหลังนี้ได้รับความเสียหายในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงถูกรื้อลงในที่สุด
#* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาอาทรทิพยนิภา]]
# เรือน[[เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมเอื้อน]]
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี]]
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์]]
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนัก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ]]
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนักพระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงวรลักษณาวดี 
เป็นที่ประทับของพระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงวรลักษณาวดี ปัจจุบันตำหนักหลังนี้ถูกรื้อลงแล้วและเป็นที่ตั้งของอาคารเรียนพลศึกษา ศูนย์หนังสือ และกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี
เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี
* ตำหนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลพรรณ ปัจจุบันตำหนักหลังนี้ถูกรื้อลงแล้วและเป็นที่ตั้งของอาคารเรียนของวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ และวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เป็นที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลพรรณปัจจุบันตำหนักหลังนี้ถูกรื้อลงแล้วและเป็นที่ตั้งของอาคารเรียนคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* ตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา
เป็นที่ประทับของเจ้าดารารัศมีพระราชชายา ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้วในช่วงต้นรัชกาลที่ 9 โดยตำแหน่งเดิมขององค์ตำหนักอยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ
เป็นอาคารบริวารของพระตำหนักสายสุทธานภดลเป็นที่พำนักของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ปัจจุบันตำหนักหลังนี้ถูกรื้อลงแล้วและเป็นที่ตั้งของอาคารเรียนภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* เรือนเจ้าจอมเอิบ
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมเอิบ ปัจจุบันถูกรื้อลงเพื่อสร้างอาคารเรียน 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมแส
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมแสปัจจุบันถูกรื้อลงเพื่อสร้างอาคารเรียน 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมเอี่ยม
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมเอี่ยมปัจจุบันถูกรื้อลงเพื่อสร้างอาคารเรียน 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมอาบ
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมอาบปัจจุบันถูกรื้อลงเพื่อสร้างอาคารเรียน 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมแก้ว
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมแก้วปัจจุบันถูกรื้อลงเพื่อสร้างอาคารเรียน 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* เรือนเจ้าจอมมารดาอ่อน
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมมารดาอ่อน เรือนหลังนี้ได้รับความเสียหายในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงถูกรื้อลงในที่สุด
#* เรือน[[เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมเอื้อน]]
เป็นที่พำนักของเจ้าจอมเอื้อนในรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
* เรือนท้าวโสภานิเวศน์
เป็๋นที่พำนักของท้าวโสภานิเวศน์ ปัจจุบันถูกรื้อในช่วงต้นรัชกาลที่ 9 โดยตำแหน่งเดิมของเรือนหลังนี้อยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
* ตำหนักว่าง
ในสวนสุนันทามีตำหนัก 2 หลังที่ไม่มีเจ้านายประทับตั้งอยู่ทั้ง 2 ด้านของตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา ถูกรื้อลงในช่วงต้นรัชกาลที่ 9 โดยตำแหน่งเดิมขององค์ตำหนักอยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
 
==อ้างอิง==