ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเมกุฏิสุทธิวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| รัชกาลถัดมา = [[พระนางวิสุทธิเทวี]]
}}
'''พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์'''<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref>, '''พระเมกุฏิสุริยวงศ์''', '''พญาเมกุ''', '''ท้าวแม่กุ''' หรือ'''เจ้าขนานแม่กุ'''<ref name="แม่กุ">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2539. หน้า 176-179</ref> ส่วนพม่าเรียกว่า '''ยูนบะหยิ่น''' ({{lang-my|ယွန်းဘုရင်}}, Yun Bayin "กษัตริย์ของ[[ไทยวน|ชาวโยน]]") หรือ, '''พระสัง'''<ref name="พม่า">อรนุช-วิรัช นิยมธรรม. "นัต : ผีอารักษ์ในสังคมพม่า". ''พม่าอ่านไทย''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2555, หน้า 162-163</ref> หรือ '''พระสาร'''<ref name="พงศาวดารพม่า">[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์|นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ]]. ''พระราชพงศาวดารพม่า''. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550, หน้า 1129</ref> เป็นอดีตเจ้านาย[[เมืองนาย]] และเป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]เพราะทรงสืบเชื้อสายมาจาก[[พญามังราย]] ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัย[[พระเจ้าบุเรงนอง]] พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วย[[โรคบิด]]<ref name="พม่า"/>
 
การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็น[[นัต]]ตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน<ref name="พม่า"/> พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้าย<ref name="YN">{{cite web|url=http://www.yangonow.com/eng/culture/nat/37_nat.html |title=Thirty-Seven Nats |accessdate=2006-07-03 |author=Hla Thamein |publisher=''Yangonow''}}</ref><ref name="เมกุ">{{cite web|url=http://www.cpamedia.com/research/king_mae_ku/|title=King Mae Ku: From Lan Na Monarch to Burmese Nat|last=Forbes|first=Andrew|year=2005|publisher=CPAmedia|accessdate=2008-09-12}}</ref><ref name="เชียงราย">{{cite web|url=http://www.chiangraiprovince.com/guide/eng/40_08.htm|title=History of Lanna - Burmese Rule and Other Foreign Influence|last=Barlow|first=Joel John|publisher=Chiang Rai Province.com|accessdate=2008-09-14}}</ref>
บรรทัด 27:
ส่วนพระราชชนนีของพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์ก็ไม่ปรากฏพระนามเช่นกัน แต่พระราชชนนีนี้ยังมีพระชนม์ชีพอยู่จนกระทั่งพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์เสวยราชย์ครองล้านนา ปรากฏพระนามในจารึกวัดพระธาตุศรีจอมทองว่า "พระอัครราชมาดา พระมหาเทวีเจ้า"<ref name="จารึก"/> ซึ่ง รศ. ดร. [[สุเนตร ชุตินธรานนท์]]ได้สันนิษฐานว่าพระราชชนนีของพระองค์คือ[[พระนางวิสุทธิเทวี]] ที่ครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์หลังถูก[[พระเจ้าบุเรงนอง]]ยึดครอง โดยให้เหตุผลว่าเป็นหลักประกันเพื่อมิให้เจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่คิดแข็งเมืองต่อพม่า<ref name="ชนนี">สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. ''พม่ารบไทย''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : มติชน, 2554. หน้า 294</ref>
 
ใน ''พระราชพงศาวดารพม่า'' ระบุว่า พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์หรือพระสารเป็นพระราชโอรสของพญาขยัน และเป็นพระราชนัดดาสอนะยัต (พญายอดเชียงราย) ซึ่งพญาขยันเสวยราชย์ก่อนพระอนุชาเมืองอี (พระเมืองแก้ว)<ref name="พงศาวดารพม่า"/> ส่วนเพ็ญสุภา สุขคตะ ว่าพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์เป็นพระราชโอรสของ[[พระเมืองแก้ว]]กับ[[พระนางวิสุทธิเทวี]] และกล่าวว่าพระนางวิสุทธิเทวีเป็นเจ้าหญิงไทใหญ่จากเมืองนาย<ref name="สุดสัปดาห์1">{{cite web |url= https://www.matichonweekly.com/column/article_68887 |title= “ล้านนาศึกษา” ใน “ไทยศึกษาครั้งที่ 13” (9) เมืองน้อย เมืองเนรเทศกษัตริย์ล้านนา The Romance of Three Kingdoms (จบ) |author= เพ็ญสุภา สุขคตะ|date= 7 ธันวาคม 2560 |work= มติชนสุดสัปดาห์ |publisher=|accessdate= 11 ธันวาคม 2560}}</ref>
 
=== เสวยราชย์ ===