เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 200:
 
===เศรษฐกิจ===
{{further|เภสัชเศรษฐศาสตร์|การชี้วัดภาวะโรค}}
{{further|Pharmacoeconomics|Disease burden}}
 
ในปี ค.ศ. 2009 ไลเนโซลิดจัดเป็น[[ยาปฏิชีวนะ]]ที่มีราคาค่อนข้างสูง โดยการรักษาในรอบหนึ่งๆ อาจมีใช้ค่าใช้จ่ายเฉพาะค่ายาชนิดนี้มากถึง 1000 – 2000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]<ref name=Lexi-Comp/> ซึ่งยังไม่รวมค่าใช้จ่ายอื่นๆ (อาทิ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล) อย่างไรก็ดี เมื่อยานี้มีการใช้ในวงกว้างมากขึ้น ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านยาในการรักษารอบหนึ่งๆ ในสหรัฐอเมริกาลดลงเป็นอย่างมาจาก โดยในปี ค.ศ. 2016 ค่าใช้จ่ายดังกล่าวอยู่ที่ประมาณ 137.90 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]<ref name=Medi2016/> ในประเทศอินเดีย จากข้อมูลปี ค.ศ. 2015 การได้รับการรักษาด้วยไลเนโวลิด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้สำหรับการรักษา[[วัณโรค]] เป็นระยะเวลา 1 เดือนจะมีค่าใช้จ่ายเฉพาะยานี้เพียง 137.90 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]<ref name=WHO2015Use/> นอกจากนี้แล้ว เนื่องจากการบริหารยาไลเนโซลิดนั้นสามารถปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารยาจากการฉีดเข้าหลอดเลือดดำเป็นการรับประทานทั้งในรูปแบบยาเม็ดหรือยาน้ำได้โดยไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการรักษา ทำให้ผู้ป่วยอาจออกจากโรงพยาบาลได้เร็วขึ้นและทำการรักษาต่อที่บ้านโดยการใช้ยาในรูปแบบรับประทาน<ref name=Grau2008/> ซึ่งการลดระยะเวลาการพักรักษาในโรงพยาบาลเช่นนี้ก็ช่วยลดค่าใช้จ่ายรวมของการรักษาแม้ไลนีโซลิดจะมีราคาสูงก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับยาปฏิชีวนะขนานอื่นๆก็ตาม
Linezolid was quite expensive in 2009; a course of treatment may cost one or two thousand U.S. dollars for the drug alone,<ref name=Lexi-Comp/> not to mention other costs (such as those associated with hospital stay). With the medication becoming generic the price has decreased such that in United States the wholesale cost of a course of treatment as of 2016 is about US$137.90.<ref name=Medi2016/> In India as of 2015 a month of linezolid, as would be used to treat tuberculosis cost about US$60.<ref name=WHO2015Use/>
 
ทั้งนี้ การศึกษาวิจัยในหลายประเทศพบว่า มีความแตกต่างของระบบที่ใช้ในการประเมินต้นทุน – ประสิทธิผล (cost-effectiveness analysis) ของไลเนโซลิดเทียบกับ[[ไกลโคเปปไทด์|ยากลุ่มไกลโคเปปไทด์]] เช่น [[แวนโคมัยซิน]] หรือ[[ไทโคพลานิน]] ผลการวิเคราะห์พบว่า ในการรักษา[[ปอดบวม|โรคปอดอักเสบชุมชน]] และ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนังและโครงสร้างผิวหนังแบบซับซ้อน (complicated skin and skin structure infection) ส่วนมากไลเนโซลิดจะมีความคุ้มค่าในเชิงต้นทุน – ประสิทธิผลมากกว่ายาปฏิชีวนะอื่นข้างต้น ซึ่งอาจเป็นผลมาจากทั้งอัตราการรักษาหายขาดและอัตราการรอดชีวิตที่สูงกว่า และค่ารักษาพยาบาลรวมทั้งหมดที่ต่ำกว่า<ref name=Grau2008/>
However, because intravenous linezolid may be switched to an oral formulation (tablets or oral solution) without jeopardizing efficacy, people may be discharged from hospital relatively early and continue treatment at home, whereas home treatment with injectable antibiotics may be impractical.<ref name=Grau2008/> Reducing the [[length of stay|length of hospital stay]] reduces the overall cost of treatment, even though linezolid may have a higher acquisition cost—that is, it may be more expensive—than comparable antibiotics.
 
ในปี ค.ศ. 2009 [[ไฟเซอร์]]ได้จ่ายเงิน 2.3 พันล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] เพื่อคลี่คลายข้อกล่าวหาทางแพ่งและทางอาญาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการส่งเสริมการขายที่ขัดต่อข้อตกลงเกี่ยวกับความมีคุณธรรมขององค์กร (Corporate Integrity Agreement; CIA) ของสำนักงานผู้ตรวจการสูงสุดของกระทรวงบริการเกี่ยวกับสุขภาพและมนุษย์แห่งสหรัฐอเมริกา (U.S. Office of Inspector General of
Studies have been conducted in several countries with different [[health care system]] models to assess the [[cost-effectiveness analysis#CEA in pharmacoeconomics|cost-effectiveness]] of linezolid compared to glycopeptides such as vancomycin or teicoplanin. In most countries, linezolid was more cost-effective than comparable antibiotics for the treatment of hospital-acquired pneumonia and complicated skin and skin structure infections, either due to higher cure and survival rates or lower overall treatment costs.<ref name=Grau2008/>
the Department of Health and Human Services; OIG) โดย[[ไฟเซอร์]]ได้ถูกกล่าวหาว่ามีเจตนาหลอกลวงให้เกิดความเข้าใจผิดในยาที่ต่างชนิดกัน, ส่งเสริมการขายยาที่มีขนาดสูงเกินไป รวมไปถึงมีการส่งเสริมการขายยาอื่นอย่างผิดกฎหมาย จำนวนทั้งสิ้น 4 ขนาน ซึ่ง 1 ในนั้นคือยาไลเนโซลิด<ref>{{cite news |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/business/8234533.stm |title=Pfizer agrees record fraud fine |publisher=BBC News |date=September 2, 2009 |accessdate=2009-09-12}}</ref> โดยในเงินจำนวนนี้ 1.3 พันล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] เป็นค่าปรับข้อหาเจตนาหลอกลวงให้เกิดความเข้าใจผิดในยาชื่อการค้า '''Bextra''' (ชื่อสามัญทางยาคือ [[วาลดีคอกซิบ]]) ในขณะที่ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐเป็นค่าปรับในการส่งเสริมการขายยาที่ผิดกฏหมายจำนวน 3 รายการที่เหลือ โดยหนึ่งในนั้นคือ '''Zyvox''' ซึ่งเป็นชื่อการค้าของไลเนโซลิด<ref>{{cite news |url=https://www.nytimes.com/2009/09/03/business/03health.html |title=Pfizer pays $2.3 billion to settle marketing case |last=Harris |first=Gardiner |date=September 2, 2009 |work=[[The New York Times]] |accessdate=2009-09-12 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110822013720/http://www.nytimes.com/2009/09/03/business/03health.html |archivedate=August 22, 2011 |df= }}</ref>
 
In 2009, Pfizer paid $2.3&nbsp;billion and entered a corporate integrity agreement to settle charges that it had misbranded and illegally promoted four drugs, and caused false claims to be submitted to government healthcare programs for uses that had not been approved by the United States Food and Drug Administration.<ref>{{cite news |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/business/8234533.stm |title=Pfizer agrees record fraud fine |publisher=BBC News |date=September 2, 2009 |accessdate=2009-09-12 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20090908011344/http://news.bbc.co.uk/2/hi/business/8234533.stm |archivedate=September 8, 2009 |df= }}</ref> $1.3&nbsp;billion was paid to settle criminal charges of illegally marketing the anti-inflammatory [[valdecoxib]], while $1&nbsp;billion was paid in civil fines regarding illegal marketing of three other drugs, including Zyvox.<ref>{{cite news |url=https://www.nytimes.com/2009/09/03/business/03health.html |title=Pfizer pays $2.3 billion to settle marketing case |last=Harris |first=Gardiner |date=September 2, 2009 |work=[[The New York Times]] |accessdate=2009-09-12 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110822013720/http://www.nytimes.com/2009/09/03/business/03health.html |archivedate=August 22, 2011 |df= }}</ref>
 
===ชื่อการค้า===