ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ใหม้" → "ไหม้" +แทนที่ "วิหารเซนต์พอลล์" → "อาสนวิหารเซนต์พอลล์" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Great Fire London.jpg|thumb|350px|right|ภาพวาดเพลิงใหม้ไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน พ.ศ. 2209 โดยจิตรกรนิรนามแสดงเพลิงที่กำลังลุกไหม้ในช่วงเย็นวันอังคาร โดยมองจากเรือที่อยู่ใกล้ๆ อู่เรือแคธารีน [[หอคอยลอนดอน]]อยู่ด้านขวาและ[[สะพานลอนดอน]]อยู่ด้านซ้าย ในภาพจะเห็น[[มหาอาสนวิหารเซนต์พอลพอลล์]]อยู่ท่ามกลางวงล้อมของเปลวเพลิงที่สูง]]
 
'''มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน''' ({{lang-en|Great Fire of London}}) คือการเกิดเพลิงเผาผลาญครั้งใหญ่ที่ลุกลามใหญ่โตทำลายพื้นที่ส่วน
กลางของ[[ลอนดอน]] [[ประเทศอังกฤษ]]ตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ [[2 กันยายน]] ถึงวันพุธที่ [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2209]] เพลิงได้ลุกไหม้เมืองยุคกลางที่ตั้งอยู่ในกำแพงเมืองโบราณสมัยโรมัน ลุกลามไปเกือบย่านคนชั้นสูงเขตเวสต์มินสเตอร์ พระราชวังของพระเจ้าชาร์ลสที่ 2 และเกือบถึงสลัมใหญ่ชานเมือง เพลิงได้เผาใหม้บ้านไปไหม้บ้านไป 13,000 หลัง โบสถ์ประจำชุมชน 87 แห่ง รวมทั้งเซนพอลล์โบสถ์สำคัญของอังกฤษและอาคารที่ทำการของทางการเกือบทั้งหมด ประมาณว่าเพลิงได้เผาบ้านทำให้ประชากร 70,000 คนจากทั้งหมดที่ประมาณการในขณะนั้น 80,000 คนไร้ที่อยู่อาศัย จำนวนผู้เสียชีวิตไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเท่าใด แต่ได้ประมาณว่ามีจำนวนไม่มากเนื่องจากมีการแจ้งยืนยันบุคคลผู้เสียชีวิตที่บันทึกไว้น้อย เหตุผลดังกล่าวได้ถูกยกมาถกเถียงในภายหลังว่า ประชากรผู้ยากไร้และคนชั้นกลางในสมัยนั้นไม่มีชื่อในทะเบียน และว่าเพลิงอันรุนแรงอาจเผาศพจนเป็นเถ้าถ่านหรือจนดูไม่ออกหรือจำศพไม่ได้
 
ต้นเพลิงได้เริ่มเกิดที่ร้านทำขนมปังชื่อโทมัส ฟาริเนอร์ในตรอกพุดดิงหลังเที่ยงคืนเล็กน้อยและลุกลามอย่างรวดเร็ว การใช้อุปกรณ์สำหรับดับเพลิงในสมัยนั้นและการใช้เทคนิคการรื้อทำลายอาคารเพื่อตัดเป็น[[แนวกันไฟ]]ได้รับการอนุมัติช้ามากจากนายกเทศมนตรีของลอนดอนคือ เซอร์โทมัสบลัดเวิร์ธ ครั้นเมื่อได้รับการอนุมัติให้รื้อทุบอาคารเป็นแนวกันไฟก็ได้เกิดลมแรงกรรโชกไฟจากโรงทำขนมปังลามไปติดอาคารโดยรอบกลายเป็นพายุเพลิงไปแล้ว ในเช้ามืดวันจันทร์เพลิงได้โหมลุกลามขึ้นเหนือสู่ใจกลางเมือง การจลาจลโกลาหลเกิดขึ้นตามถนนเมื่อมีข่าวลือว่าชาวต่างชาติเป็นผู้วางเพลิง พวกที่กลัวว่าจะไร้ที่อยู่ต่างพากันพุ่งความสนใจไปที่ชาวฝรั่งเศสและชาวดัทช์ ที่เคยเป็นศัตรูของอังกฤษระหว่าง[[สงครามอังกฤษ-ดัทช์ครั้งที่ 2]] เป็นเหตุให้คนเหล่านี้ถูกรุมทำร้ายท่ามกลางการวุ่นวายกลางถนน เมื่อถึงวันอังคาร เพลิงได้ขยายลุกลามไปเกือบทั่วเมืองเผาใหม้วิหารเซนต์พอลล์ไหม้[[อาสนวิหารเซนต์พอลล์]]และลามข้ามแม่น้ำฟลีต (แม่น้ำใต้ดิน) มุ่งสู่ราชสำนักของกษัตริย์ชาร์ลที่ 2 ที่ไวท์ฮอลล์ซึ่งมีการระดมพนักงานดับเพลิงมารวมเพื่อการต่อต้านเพลิงเป็นจำนวนมาก การเอาชนะไฟได้ ณ จุดนี้มีเหตุผลสองประการคือ เกิดจาดการหยุดพัดของลมตะวันออกพอดีและจากการใช้ดินระเบิดของคลังแสงที่สะพานลอนดอนมาระเบิดอาคารเพื่อสร้างแนวกันไฟที่ได้ผลกว่าการใช้คนรื้อ
 
ความเสียหายจากปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ผลที่เนื่องมาการเกิดอัคคีภัยครั้งนี้ยิ่งใหญ่มาก พระเจ้าชาร์ลที่ 2 รับสั่งให้รีบทำการอพยพคนจากลอนดอนไปอยู่ที่อื่นด้วยเกรงว่าจะเกิดการจลาจลในลอนดอนจากคนไร้ที่อยู่ แม้จะมีข้อเสนอในการฟื้นฟูปรับปรุงเมืองให้ดีหลายแบบ แต่ในที่สุดการก่อสร้างฟื้นฟูก็ยังคงสร้างตามแนวโครงถนนดั้งเดิม
บรรทัด 12:
 
== การดับเพลิงในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 (พ.ศ. 2144 - พ.ศ. 2243) ==
เพลิงที่ใหม้ไหม้ส่วนใหญ่มักเกิดตามละแวกที่เป็นอาคารไม้ที่มีเตาผิงแบเปืดและใช้เทียนไขให้ความสว่าง ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในสมัยนั้น บ้านเรือนเหล่านี้มักมีเตาอบ เชื้อเพลิงและวัสดติดไฟวัสดุเก็บไว้มาก สมัยนั้นยังไม่มีตำรวจหรือพนักงานดับเพลิงหรือสถานีดับเพลิงเตรียมพร้อมตลอดเวลาดังปัจจุบัน จะมีก็เพียงพนักงานระวังเพลิงที่เรียกว่า "พนักงานสั่นระฆัง (Bellmen) จำนวนนับพับคนเดินตรวจตราตามถนนในเวลากลางคืน มีการกำหนดขั้นตอนในการดับเพลิงด้วยตนเองของชุมชนที่นับว่าได้ผลอยู่พอควร เมื่อเกิเพลิงจะมีการัวระฆังโบสถ์และผู้คนจะออกมาชุมชนุมที่จุดกำหนดและใช้เทคนิคในสมัยนั้นด้ยการใช้น้ำหรือการรือทุบอาคาร กฤหมายกำหนดให้โบสถ์ทุกแห่งต้องมีบันไดยาว ถังน้ำที่ทำด้วยหนัง ขวานและตาขอเกี่ยวสำหรับดึงรื้ออาคาร บางครั้งมีการใช้ดินระเบิดกับอาคารสูงที่บันไดพาดไม่ถึง มีการใช้วิธีการรื้อทุบอาคารเป็นอย่างมากในการต่อสู้กับเพลิงที่ใหลอนดอนครั้งนี้ซึ่งนักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่าเป็นวิธีที่ทำให้เพลิงสงบลงได้ในครั้งนี้
 
การดับเพลิงที่ลุกลามด้านใต้ลมโดยวิธีรื้อทุบนี้นับว่าได้ผลดีมาก แต่เนื่องนายกเทศมนตรีขาดความเป็นผู้นำไม่กล้าตัดสินใจ ลังเลอญู่นับเป็นหลายชั่วโมง ครั้นเมื่อมีพระราชดำรัสรับสั่งลงมาโดยตรงจากพระเจ้าชาร์ลที่ 2 ให้รื้อทุบบ้านทุกหลังที่จะเป็นแนวกันไฟโดยไม่มีการยกเว้นก็ปรากฏว่าเพลิงได้ลุกติดบ้านขนาดใหญ่จนพนักงานไม่สามารถผ่านไปตามถนนหรือตรอกที่แคบเหล่านั้นไปได้
 
การใชน้ำสำหรับดับเพลิงก็น่าหงุดหงิดเนื่องจากปกติน้ำที่ใช้ดับเพลิงมาจากระบบประปาที่ใช้ท่อไม้เอล์มเดินจากหอสูงที่คอร์นฮิลล์ที่ได้น้ำจากแม่น้ำแล้วแจกจ่ายให้แก่บ้าน 30,000 หลัง ปกติการเปิดน้ำจากท่อไม้สามารถทำได้สำหรับต่อกับท่อผ้าใบหรือใส่ถังดับเพลิง และการที่ตรอกพุดดิงอยู่ใกล้กับแม่น้ำจึงสามารถจัดพนักงานอาสาดับเพลิงยืนเข้าแถวสองแถวส่งผ่านถังน้ำจากแม่น้ำ สาดน้ำดับไฟแล้วส่งถังเป็นทอดๆ กลับไปที่แม่น้ำและเวียนกลับมาอีก แต่วิธีที่ควรทำนี้ไม่ได้เกิดขึ้น มีผู้บันทึกว่า เมื่อเห็นไฟ ทุกคนก็แตกตื่นรีบวิ่งไปเก็บข้าวของหนีไฟ ไฟจึงลามสู่ด้านแม่น้ำและลุกติดโรงเก็บสินค้าตามท่าเทียบเรือริมฝั่ง ไฟจึงตัดเส้นทางลำเลียงน้ำจากแม่น้ำและยังลุกใหม้ไหม้กังหันน้ำที่สะพานลอนดอนที่ทำหน้าที่เติมน้ำเข้าหอถังน้ำ น้ำจากท่อจึงไม่มีไปด้วย
 
ลอนดอนมีเทคโนโลยีที่นับว่าทันสมัยในสมัยนั้นคือมีเครื่องดับเพลิงที่เคยนำมาใช้ดับเพลิงใหญ่ในครั้งก่อนๆ แต่ในครั้งนี้เครื่องดับเพลิงซึ่งมีขนาดใหญ่นี้กลับสู้ขอเกี่ยวไม่ได้ มีเพียงบางเครื่องที่มีล้อ ที่เหลือติดตั้งบนคานลากและต้องลากมาไกล ทำให้มาถึงล่าช้าเกินการ บางเครื่องก็ไม่มีสายหรือมีสายที่สั้นเกินไป เมื่อไม่มีน้ำจากท่อจึงต้องลากเครื่องไปริมฝั่งแม่น้ำเทมส์ หลายเครื่องตกลงไปในแม่น้ำ เมื่อเพลิงโหมรุนแรงมาก เครื่องดับเพลิงจึงไม่สามารถเข้าใกล้พอระยะที่จะใช้ได้ผล และที่สุดก็ร้อนแรงมากจนไม่สามารถเข้าไปในตรอกพุดดิงได้
บรรทัด 36:
== ดูเพิ่ม ==
* [[โรคระบาดครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอน]]
* [[ไฟใหม้ไหม้ใหญ่ครั้งที่ 2 ของลอนดอน]]
* [[Great fire of Newcastle and Gateshead]], 1854
* [[Great Chicago Fire]]