ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โธมัส เฮย์เวิร์ด เฮส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
Thomas Heyward Hays ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น โธมัส เฮย์เวิร์ด เฮส์
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ภาพ:h01.jpg|thumb|Thomas Heyward Hays]]
 
'''นายแพทย์โธมัส เฮวาร์ด เฮส์''' (Dr. Thomas Heyward Hays) ([[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2397]] - [[พ.ศ. 2467]]) นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่[[ศาสนาคริสต์]]ใน[[ประเทศไทย]] แพทย์ใหญ่โรงพยาบาททหารเรือไทย เป็นผู้อำนวยการและเป็นอาจารย์สอนวิชาแพทย์คนแรกของ[[โรงพยาบาลศิริราช]] หรือที่ชาวบ้านเรียกกันทั่วไปในสมัยนั้นว่า '''หมอเฮส์'''
Dr.Thomas Heyward Hays หรือที่ชาวบ้านเรียกกันทั่วไปในสมัยนั้นว่า “หมอเฮส์”
 
หมอนายแพทย์เฮส์เป็นชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2397]] ณ เมือง[[ชาร์ลสตัน]] Charleston [[มลรัฐเซาท์แคโรไลนา]] South Carolina [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] คุณหมอจบการศึกษาการการแพทย์จาก[[มหาวิทยาลัยแมรีแลนด์]] University of Maryland โดยได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ประมาณเดือนตุลาคม ปี [[พ.ศ. 2429]] ในฐานะอาสาสมัครของคณะ[[มิชชันนารี]] นิกาย Presbyterian[[เพรสไบทีเรียน]]
 
พ.ศ. 2431 สองปีต่อมา หมอนายแพทย์เฮส์ ได้ลาออกจากคณะมิชชันนารีและเข้ารับราชการให้กับ[[กองทัพเรือไทย]] นอกจากรับราชการในตำแหน่งนายแพทย์ประจำกองทัพเรือแล้ว หมอเฮส์นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากทั้ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว]] และ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6]] ให้เป็นหมอประจำพระราชสำนัก และยังได้มอบหมายให้รับผิดชอบอีกหลากหลายบทบาทและหน้าที่ นอกจากนี้หมอนายแพทย์เฮส์ยังมีธุรกิจทั้งโรงพยาบาลและร้านขายยาที่มีชื่อเสียงและมีหุ้น เป็นผู้ที่นำเข้าเครื่อง[[เอ็กซ์เรย์]] เข้ามาใช้เป็นครั้งแรกในกิจการต่างๆประเทศไทย
 
หมอนายแพทย์เฮส์นอกจากนี้หมอเฮส์ยังเป็นผู้รับช่วงบริหารห้าง British Dispensary หรือ[[ห้างขายยาอังกฤษตรางู]] (British Dispensary) ต่อจากนายแพทย์ Dr.Gowan ซึ่งเป็นห้างที่มีสินค้าจากต่างประเทศทั้งยา สินค้าประเภทเคมีเคมีภัณฑ์ กล้องถ่ายรูป โดยร้านตั้งอยู่หัวมุม[[ถนนสุรวงศ์รวงศ์]]ตัดกับ[[ถนนเจริญกรุง]] เป็นห้างที่มีชื่อเสียงทันสมัยที่สุดในสมัยนั้นอย่างมาก นอกจากนี้หมอเฮส์ยังเป็นผู้ที่นำเข้าเครื่อง X-Ray เข้ามาใช้ครั้งแรกในประเทศไทย
 
หมอนายแพทย์เฮส์ได้ชื่อว่าเป็นบุคคลที่มีฐานะดีคนหนึ่งในสมัยนั้น ซึ่งเงินจำนวนมากก็ยังได้จัดสรรสำหรับการกุศลต่างๆ รวมทั้งการบริจาคเงินเพื่อสร้างอาคารหลายแห่งในประเทศไทยเพื่อการกุศล เช่น อาคาร[[ห้องสมุดนีลเซนเฮส์]]บนถนนสุรวงศ์ อาคารนีลเซน เฮส์ [[โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย]] อาคารนีลเซนเฮส์โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยนีลเซนเฮส์ [[โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย]] จ.[[จังหวัดเชียงใหม่]]
 
นายแพทย์เฮวาร์ด เฮส์ สมรสกับนาง[[เจนนี นีลเซน เฮส์]] (Jennie Neilson Hays) มิชชันนารีชาวเดนมาร์กที่เข้ามาในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2427 ทั้งคู่สมรสกันในปี พ.ศ. 2430
ในวาระสุดท้าย หมอเฮส์ได้ทำพินัยกรรมก่อนที่ท่านจะเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2467 เมื่ออายุได้ 70 นั้น ท่านได้มอบทรัพย์สินที่ดินและทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ เช่น หนังสือด้านการแพทย์บริจาคให้คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสืออ่านเล่นบริจาคให้ห้องสมุดนีลเซน เฮส์ ชุดและเครื่องประดับของทหารท่านคืนให้กองทัพเรือ เฟอร์นิเจอร์และของใช้ส่วน ที่ดิน หุ้นในกิจการต่างๆ ได้ขายและบริจาคให้กับสาธารณะกุศลต่างๆ
 
นายแพทย์เฮส์ เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2467 เมื่ออายุได้ 70 ปี ท่านได้ทำพินัยกรรมมอบทรัพย์สิน ที่ดิน หุ้นทุกอย่างบริจาคให้กับสาธารณะกุศลทั้งหมด เช่น ตำราด้านการแพทย์บริจาคให้[[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] หนังสืออ่านเล่นบริจาคให้ห้องสมุดนีลเซนเฮส์
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://neilsonhayslibrary.com/index.shtml The Neilson Hays Library]
 
{{เกิดปี|2397}}{{ตายปี|2467}}
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกัน|ธ]]
[[หมวดหมู่:มิชชันนารี|ธ]]
[[หมวดหมู่:ชาวต่างชาติในประเทศไทย|ธ]]