ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตึกโดม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
better img quality
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่กล่อง
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
[[ไฟล์:Dome Building, Thammasat University at night.jpg|thumb|300px|ตึกโดมและ[[อนุสาวรีย์]][[ปรีดี พนมยงค์]] ผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = อาคารโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <br> ตึกโดม
| ชื่อภาษาอื่น =
| ภาพ = Dome Building, Thammasat University at night.jpg
[[ไฟล์:Dome| Building,คำบรรยายภาพ Thammasat= University at night.jpg|thumb|300px|ตึกโดมและ[[อนุสาวรีย์]][[ปรีดี พนมยงค์]] ผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
| สิ่งก่อสร้าง = สำนักงานของมหาวิทยาลัย
| เมืองที่ตั้ง = เลขที่ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = [[ประเทศไทย]] {{ธง|ไทย}}
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2478 – 2479
| ผู้สร้าง = ศาสตราจารย์ ดร. [[ปรีดี พนมยงค์]]
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ =
| ผู้บูรณะ =
| แบบสถาปัตยกรรม = [[จีน|สถาปัตยกรรมจีน]]
| โครงสร้าง = [[คอนกรีตเสริมเหล็ก]]
| ขนาด = อาคารโดมเป็นอาคารสูง 3 ชั้น (สูง 16 เมตร) โดยปีกซ้ายและขวามี 2 ชั้น มีผังเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว
| รายละเอียดอื่น =
| สถาปนิก = หมิว อภัยวงศ์ (จิตรเสน อภัยวงศ์)
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล = รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประเภทอาคารสถาบันและอาคารสาธารณะ ในปี พ.ศ. 25481
| สิ่งที่น่าสนใจ = ได้รับการยกย่องให้เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
 
'''ตึกโดม''' หรือ '''แม่โดม''' (ชื่อที่นิยมเรียกอย่างเคารพของบุคคลภายในมหาวิทยาลัย) แห่ง[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] หรือชื่ออย่างเป็นทางการเดิม '''อาคารโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์''' เป็นอาคารทรงโดมยอดแหลม วางซ้อนตัวกัน 2 ชั้น ได้รับการออกแบบโดย [[หมิว อภัยวงศ์|นายจิตรเสน (หมิว) อภัยวงศ์]] ด้วยการเชื่อมต่ออาคารทั้ง 4 หลัง ที่เป็นของกองพันทหารราบที่ 4 เดิม เข้าเป็นตึกเดียวกัน โดยจุดเชื่อมตรงกลางระหว่างอาคารที่ 2 และ 3 ได้ออกแบบให้มีลักษณะโดนเด่น ซึ่ง[[ปรีดี พนมยงค์|ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์]] [[ผู้ประศาสน์การ]] มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ให้แนวคิด เพื่อให้เป็นสถาปัตยกรรม ที่มีลักษณะที่โดดเด่น ไม่ได้เลียนแบบชาติอื่นแต่อย่างใด
 
ตึกโดมในปัจจุบัน คงเหลือเพียงอาคาร 2 และ 3 เดิม เท่านั้น เนื่องได้มีการทุบตึกฝั่งเหนือและใต้ออกเพื่อสร้างตึกคณะเศรษฐศาสตร์ สำนักหอสมุด (หอสมุดปรีดี พนมยงค์) และอาคารเอนกประสงค์
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตึกโดม"