ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอีสาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
ส่วนภาษาเขียนในอดีตใช้[[อักษรธรรมล้านช้าง]]หรือตัวธรรม สำหรับบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา และเขียนด้วย[[อักษรไทน้อย]]หรือตัวลาวเดิม (เป็นอักษรลาวล้านช้างโบราณ มีความแตกต่างกับอักษรลาวในประเทศลาวในปัจจุบันเล็กน้อย) สำหรับเรื่องราวทางโลก อักษรลาวล้านช้าง (ตัวลาวหรืออักษรไทน้อย) มีพยัญชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ ในปัจจุบันนิยมใช้[[อักษรไทย]]สำหรับเขียนบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งในทางโลกและทางธรรม เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรธรรมและอักษรลาวออก แต่ความนิยมในการเขียนบันทึกเป็นภาษาถิ่นไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก โดยส่วนใหญ่ภาษาเขียนในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะใช้[[อักษรไทย]]และบันทึกเป็นภาษาไทยกลางเป็นหลักแทน
 
'''==ตัวอย่างประโยคภาษาไทยถิ่นอีสาน'''==
 
{| class="wikitable"