ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 7371856 สร้างโดย 180.183.45.83 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| birth_style = พระราชสมภพ
| สีพิเศษ = #ffcc00
| birth_date =[[ พ.ศ. 2223]]
| สีอักษร = #8f5f12
| death_date = [[พ.ศ. 2301]]
| ภาพ =
| personal name = เจ้าฟ้าพร
| full name = สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
| birth_date =[[พ.ศ. 2223]]
| death_date = [[พ.ศ. 2301]]
| succession = [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา]]
| father = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8]]
| พระราชมารดา =
| queen = [[กรมหลวงอภัยนุชิต]]<br>[[กรมหลวงพิพิธมนตรี]]<ref>เล็ก พงษ์สมัครไทย. '''เฉลิมพระยศ เจ้านายฝ่ายในในรัชกาลที่ ๑-๙'''. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2552. หน้า 16 </ref>
| พระราชสวามี =
| issue =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| dynasty = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
|reign = พ.ศ. 2275-2301 (26 ปี)
| พิธีบรมราชาภิเษก =
|ระยะเวลาครองราชย์ = 26 ปี
| predecessor = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]]
| successor = [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]
|}}
'''สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ''' หรือ '''สมเด็จพระภูมินทรมหาราชาบรมโกศพระมหาธรรมราชา''' เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] และเป็นพระองค์ที่ 4 ใน[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
[[ไฟล์:Bromgot.jpg|thumb|
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
]]
'''สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ''' หรือ '''สมเด็จพระภูมินทรมหาราชาบรมโกศ''' เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] และเป็นพระองค์ที่ 4 ใน[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
 
==พระราชประวัติ==
|ระยะเวลา=== ก่อนครองราชย์ = 26 ปี==
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีพระนามเดิมว่า '''เจ้าฟ้าพร''' เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8]] (พระเจ้าเสือ) มีพระเชษฐา ได้แก่ คือ[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9|เจ้าฟ้าเพชร]] พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็น[[พระบัณฑูรน้อย]]ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 และเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9
 
===ปราบดาภิเษก===
<!-- รอใครมาจัดให้เป็นระเบียบ -->
เมื่อสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคตนั้น ได้พระราชทานราชสมบัติให้แก่[[เจ้าฟ้าอภัย]] พระเจ้าบรมโกศ ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น[[พระมหาอุปราช]]อยู่ไม่เต็มพระทัย เพราะปรารถนาจะให้ทรงมอบราชสมบัติแก่[[เจ้าฟ้าพระนเรนทร กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์]] ซึ่งในขณะนั้นผนวชอยู่
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงมีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ กับ[[กรมหลวงพิพิธมนตรี]] ตามลำดับ ดังนี้<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623-624</ref>
 
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ได้เกิดการสู้รบกันระหว่างพระองค์กับพระราชโอรสของ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 คือ [[เจ้าฟ้าอภัย]] และ[[เจ้าฟ้าปรเมศร์]] อันเนื่องมาจากพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]มีสิทธิที่จะขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อพระเชษฐาอย่างถูกต้อง แต่เมื่อพระเชษฐาใกล้สวรรคตกลับตัดสินพระทัยยกราชสมบัติแก่เจ้าฟ้านเรนทร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่เห็นด้วยชอบด้วย จึงยกราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสองค์รอง เป็นเหตุให้เกิดการต่อสู้แย่งชิงราชบัลลังก์จนกลายเป็นสงครามกลางเมือง กินระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี
 
คำให้การชาวกรุงเก่าระบุว่าภายหลังเหตุการณ์สงบแล้ว พระองค์จึงได้ขึ้นครองราชย์เฉลิมพระนามว่า'''พระมหาธรรมราชา'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 550</ref> (แต่ในบัญชีพระนามเจ้านายว่า'''พระเจ้าบรมราชา'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623</ref>) และสำเร็จโทษเจ้าฟ้าทั้ง 2 พระองค์
 
|== พระมเหสีและพระราชโอรส/ธิดา = =
[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงมีพระราชโอรสอัครมเหสี 23 พระองค์ และพระนามพระราชโอรสธิดา 6 พระองค์ กับ[[กรมหลวงพิพิธมนตรี]] ตามลำดับ ที่ประสูติจากพระอัครมเหสีทั้งสามดังนี้<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623-624551</ref>
;[[กรมหลวงอภัยนุชิต]]: มีพระราชโอรสธิดาดังนี้
# [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]]
**# เจ้าฟ้าหญิงบรม
**# เจ้าฟ้าหญิงสุริยวงศ์
**# เจ้าฟ้าหญิงสุริยา
**# เจ้าฟ้าหญิงธิดา
**# เจ้าฟ้าหญิงรัศมี
**# เจ้าฟ้าหญิงอินทุสุดาวดี (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น '''กรมขุนยิสารเสนี''' และได้เป็นพระอัครชายาในกรมขุนเสนาพิทักษ์)
;[[กรมหลวงพิพิธมนตรี]]: มีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ ตามลำดับ ดังนี้
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประชา (หรือเจ้าฟ้าประชาวดี)
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประภา (หรือเจ้าฟ้าประภาวดี)
# เจ้าฟ้าหญิงอินทวดี (หรือ[[เจ้าฟ้าพินทวดี]])
# เจ้าฟ้าหญิงกษัตรีย์
# เจ้าฟ้าชายเอกทัศน์ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี (คือ[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ยาศน์อมรินทร์]])
# เจ้าฟ้าหญิงบัวจัน (หรือเจ้าฟ้าจันทรวดี)
# เจ้าฟ้าหญิงนวน (หรือเจ้าฟ้านุ่ม)
# เจ้าฟ้าชายอุทุมพรราชกุมาร กรมขุนพรพินิต ([[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]])
;[[อินทสุชาเทวี]]: มีพระราชโอรสธิดาดังนี้
 
# เจ้าฟ้าชายอัมพร
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดากับ[[กรมหลวงอภัยนุชิต]] ดังนี้
# เจ้าฟ้าหญิงกุณฑล
* พระราชโอรส :
**# [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]]หญิงมงกุฎ
นอกจากนั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศยังทรงมีพระราชโอรสธิดาที่ประสูติแต่พระสนมหลายอีกรวมทั้งสิ้น 108 พระองค์ เช่น
* พระราชธิดา :
** เจ้าฟ้าหญิงบรม
** เจ้าฟ้าหญิงสุริยวงศ์
** เจ้าฟ้าหญิงสุริยา
** เจ้าฟ้าหญิงธิดา
** เจ้าฟ้าหญิงรัศมี
** เจ้าฟ้าหญิงอินทุสุดาวดี (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น '''กรมขุนยิสารเสนี''' และได้เป็นพระอัครชายาในกรมขุนเสนาพิทักษ์)
 
นอกจากนั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศยังทรงมีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระสนมหลายพระองค์ เช่น
* พระองค์เจ้าแขก ([[กรมหมื่นเทพพิพิธ]])
* พระองค์เจ้ามังคุด (กรมหมื่นจิตรสุนทร)
เส้น 56 ⟶ 55:
* พระองค์เจ้าปาน (กรมหมื่นเสพภักดี)
 
==พระราชกรณียกิจ==
===สงครามแย่งราชสมบัติ===
เมื่อสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคตนั้น ได้พระราชทานราชสมบัติให้แก่[[เจ้าฟ้าอภัย]] พระเจ้าบรมโกศ ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น[[พระมหาอุปราช]]อยู่ไม่เต็มพระทัย เพราะปรารถนาจะให้ทรงมอบราชสมบัติแก่[[เจ้าฟ้าพระนเรนทร กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์]] ซึ่งในขณะนั้นผนวชอยู่
 
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ได้เกิดการสู้รบกันระหว่างพระองค์กับพระราชโอรสของ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 คือ [[เจ้าฟ้าอภัย]] และ[[เจ้าฟ้าปรเมศร์]] อันเนื่องมาจากพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]มีสิทธิที่จะขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อพระเชษฐาอย่างถูกต้อง แต่เมื่อพระเชษฐาใกล้สวรรคตกลับตัดสินพระทัยยกราชสมบัติแก่เจ้าฟ้านเรนทร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่เห็นด้วยชอบด้วย จึงยกราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสองค์รอง เป็นเหตุให้เกิดการต่อสู้แย่งชิงราชบัลลังก์จนกลายเป็นสงครามกลางเมือง กินระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี
 
ภายหลังเหตุการณ์สงบแล้ว พระองค์จึงได้ขึ้นครองราชย์ และประหารชีวิตเจ้าฟ้าทั้ง 2 พระองค์
 
===รัชสมัย===
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองและพระศาสนาจนกล่าวได้ว่ากรุงศรีอยุธยาในสมัยพระองค์นั้นเป็นยุคที่บ้านเมืองดี มีขุนนางคนสำคัญที่เติบโตในเวลาต่อมา ในรัชกาลของพระองค์หลายคน เช่น [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นต้น ในทางด้านวรรณคดี ก็มีกวีคนสำคัญ เช่น [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] กรมขุนเสนาพิทักษ์ (หรือเจ้าฟ้ากุ้ง) ซึ่งเป็นพระราชโอรส เป็นต้น
 
ในปี [[พ.ศ. 2296]] พระเจ้ากีรติสิริราชสิงห์ กษัตริย์[[ลังกา]] ได้ส่งราชทูตมาขอพระมหาเถระ และคณะสงฆ์ไปช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา ซึ่งเสื่อมโทรมลงไป สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จึงโปรดให้ส่งคณะสมณทูตประกอบด้วยพระราชาคณะสองรูปคือ [[พระอุบาลีเถระ]]และ[[พระอริยมุนี]] พร้อมคณะสงฆ์อีก 12 รูป ไปลังกา เพื่อประกอบพิธีบรรพชา อุปสมบท ให้กับชาวลังกา คณะสงฆ์คณะนี้ได้ไปตั้ง[[สยามนิกาย]]ขึ้นในลังกา หลังจากที่ได้ช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา เป็นเวลาเจ็ดปีแล้ว คณะสงฆ์คณะนี้บางส่วนได้เดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี [[พ.ศ. 2303]]
 
===เหตุพระนาม"บรมโกศ"===
 
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชวินิจฉัยในพระราชพิธีสิบสองเดือนว่า เป็นเพราะเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศสวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ก็เรียกขุนหลวงบรมโกศ จนผลัดแผ่นดินมาพระเจ้าเอกทัศ ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง จนมาสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ จึงเรียกติดปากไป คิดว่าเป็นชื่อจริงๆ
 
เส้น 90 ⟶ 81:
|3= ''ไม่ทราบ'' <br/>
|4= [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
|5= [[พระนางนางกุสาวดี]]
|6=
|7=
เส้น 109 ⟶ 100:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
* [http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=26442&page=4 วิชาการ.คอม]
; บรรณานุกรม
* [http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/king/ayuthaya/ayuthaya5.htm#top หอมรดกไทย] {{ลิงก์เสีย}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 134 ⟶ 130:
|ตำแหน่ง = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]<br>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|ช่วงเวลา =
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9|เจ้าฟ้าเพชร]]<br/>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]]
|ถัดไป = [[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์]]<br/>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระถัดไป =
}}
เส้น 144 ⟶ 140:
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา<br>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2275]] - [[พ.ศ. 2301]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]]<br/>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 2251]] - [[พ.ศ. 2275]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] <br/>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 2301]])
}}
{{จบกล่อง}}