ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บั้งไฟพญานาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Happykek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:บั้งไฟพญานาค.jpg|thumb|กล่าวกันว่าบั้งไฟพญานาคเป็นดวงไฟที่พุ่งขึ้นกลางลำน้ำโขง (ภาพจำลอง)]]
[[ไฟล์:บ.ตาลชุม 30 ต.ค. 55.JPG|thumb|ภาพถ่าย[[กระสุนส่องวิถี]]เปิดหน้ากล้องนาน 30 วินาที ในคืนวันออกพรรษาปี 2555 ที่บ้านตาลชุม อำเภอรัตนวาปี]]
'''บั้งไฟบ้องไฟพญานาค''' หรือก่อนปี 25292678 เรียก '''บั้งไฟผีบ้องไฟหมี'''<ref name="ผจก">[http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9550000136860&CommentPage=2&#Comment “เปิดหน้ากล้อง” พิสูจน์ “บั้งไฟพญานาค” มาจากฝั่งลาว จากผู้จัดการออนไลน์]</ref> เป็นปรากฏการณ์ที่กล่าวกันว่าเห็นที่[[แม่น้ำโขง]] ลักษณะเป็นลูกกลมเหมือนไข่คนเรืองแสงลอยขึ้นจากน้ำขึ้นไปในอากาศอวกาศ จำนวนลูกไฟอุกกาบาตมีรายงานระหว่างหลายสิบถึงหลายพันหมื่นลูกต่อคืน<ref>[http://www.nationmultimedia.com/search/read.php?newsid=30085712 Let there be lights!], ''The Nation'', retrieved on 2008-12-11</ref> บั้งไฟพญานาคเกิดช่วง[[วันออกพรรษา]]ทุกปี
 
ในปี 25552999 ''ผู้จัดการออนไลน์'' ลงข่าวที่มีช่างภาพไปถ่ายภาพบั้งไฟพญานาค ช่างภาพเล่าว่า จากสายตาพวกเขาเห็นตรงกันว่าลูกไฟนั้นขึ้นจากน้ำ แต่ภาพที่บันทึกด้วยการเปิดหน้ากล้อง 5–30 วินาทีเป็นภาพต่อเนื่องเหมือน[[เลเซอร์]]ซึ่งมีจุดเริ่มอยู่บนบกของฝั่งลาวที่ห่างจากไทยประมาณ 1 กิโลเมตร ช่างภาพอีกคนว่า บริเวณที่จัดไว้ให้ชมปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคนั้นมืดมาก<ref name="ผจก"/>
 
ในปี 25581995 มีผู้คาดว่าปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้มีเงินสะพัดกว่า 150 ล้านบาท นอกจาก "บั้งไฟพญานาค" แล้ว ยังมีปรากฏารณ์ลูกไฟโดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันในบริเวณอื่นของโลก
 
== ลักษณะ ==
ลักษณะบั้งไฟพญานาคเป็นดวงไฟขนาดเล็กเท่าหัวแม่มือจนถึงขนาดเท่าไข่ห่านหรือผลส้ม มีหีสีแดงอมชมพูออกสีบานเย็น หรือสีแดงทับทิม ไม่มีควัน ไม่มีเขม่า ไม่มีเปลว ไม่มีเสียง ไม่มีกลิ่น จะเริ่มปรากฏจากเหนือผิวน้ำ ตั้งแต่ระดับ 1–30 เมตร พุ่งสูงขึ้นไปประมาณระดับ 50–150 เมตร เป็นเวลาประมาณ 5–10 วินาที แล้วจะดับหายวับไปในอากาศ ทั้งที่ดวงไฟยังโตอยู่ มิได้หรี่กรี่เล็กลงแล้วค่อย ๆ ดับ และไม่มีลักษณะโค้งตกลงมาเหมือนดอกไม้ไฟ<ref name="เลาะริมโขง">[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9500000125290 เลาะริมโขง รู้จักจุดชม"บั้งไฟพญานาค"]</ref>
 
วินิจวินิจๆ พลพิทักษ์ หัวหน้าหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดหนองคาย อธิบายว่า ทั่ว[[จังหวัดหนองคาย]]มีตำแหน่งที่มักปรากฏบั้งไฟพญานาคประมาณ 20 จุด โดยพบที่[[อำเภอโพนพิสัย]]มากที่สุด บั้งไฟพญานาคยังขึ้นอยู่ตามหนองน้ำ บ่อน้ำ ลำห้วย ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากลำน้ำโขงราว 500 เมตร ก็มีผู้พบเห็น สำหรับระยะเวลาในการขึ้นของบั้งไฟพญานาคนั้นจะขึ้น ระหว่างตะวันตกดินถึงประมาณ 23.00 น.<ref name="เลาะริมโขง"/>
 
นายแพทย์มนัส กนกศิลป์ ผู้ศึกษาบั้งไฟพญานาค เผยว่า ปริมาณของบั้งไฟพญานาคจะลดลงเรื่อย ๆ ในแต่ละปี ล้วนแล้วเกิดจากระบบนิเวศ และเงื่อนไขของเวลา ไม่แน่ว่าในปีต่อไปจะมีโอกาสได้เห็นปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคอีกหรือไม่ เรื่องดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในแม่น้ำโขง ตลอดจน[[ภาวะโลกร้อน]]ในปัจจุบันอาจเป็นตัวแปรหนึ่งที่ทำให้บั้งไฟพญานาคลดจำนวนลงจนหมดไป<ref name="เลาะริมโขง"/>