ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุวิทย์ วัดหนู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
[[ภาพ:สุวิทย์ วัดหนู.jpg|thumb|สุวิทย์ วัดหนู]]
เคย'''สุวิทย์ วัดหนู''' ([[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2495]] - [[12 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]]) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย [[สลัม]] และ[[คนจนเมือง]] เคยเป็นเลขาธิการ[[คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย]] (ครป.), ที่ปรึกษา[[สมัชชาคนจน]], ที่ปรึกษา[[เครือข่ายสลัม 4 ภาค]] และเลขาธิการ[[เครือข่ายคนเดือนตุลา]] และมีบทบาทขับไล่เผด็จการใน[[เหตุการณ์พฤษภาคมพฤษภาทมิฬ]] 2535[[พ.ศ. 2535]]
'''สุวิทย์ วัดหนู''' ([[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2495]] - [[12 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]])ที่ ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี จบการศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒบางแสน (ม.บูรพาปัจจุบัน) จากหมู่บ้านเล็กๆ ริมทะเล เข้าสู่งานกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา
และเข้าร่วมกับ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ใน[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]
 
== ประวัติ ==
เริ่มเข้าร่วมกับรุ่นพี่ ([[วิทยากร เชียงกูล]], [[จรัล ดิษฐาภิชัย]]) ภายในรั้ว[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒบางแสน]] (ปัจจุบันคือม.บูรพา) และก้าวไปกับขบวนการประชาธิปไตย [[14 ตุลา 2516]] ขับไล่เผด็จการ "ถนอม -ประภาส-ณรงค์"
สุวิทย์เกิดที่หมู่บ้านเล็ก ๆ ริมทะเลใน[[ตำบลบางเสร่]] [[อำเภอสัตหีบ]] [[จังหวัดชลบุรี]]
เข้าศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ วิทยาเขตบางแสน]] ([[มหาวิทยาลัยบูรพา]]ในปัจจุบัน) และเริ่มเข้าร่วมงานกิจกรรม[[ค่ายอาสาพัฒนา]]
ต่อมาเข้าเริ่มเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับรุ่นพี่คือ [[วิทยากร เชียงกูล]] และ [[จรัล ดิษฐาภิชัย]] ภายในรั้วมหาวิทยาลัย
และก้าวไปกับขบวนการประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ [[3 ทรราช]] "[[ถนอม กิตติขจร|ถนอม]]-[[ประภาส จารุเสถียร|ประภาส]]-[[ณรงค์ กิตติขจร|ณรงค์]]" อันนำไปสู่[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] [[พ.ศ. 2516]]
 
ปี พ.ศ. 2518 เขาเพิ่งจบศึกษาศาสตร์บัณฑิต และเป็นอาจารย์สอน[[โรงเรียนช่างกล พระราม 6]] และมีบทบาทสำคัญในฐานะแกนนำ ''"แนวร่วมอาชีวะเพื่อประชาธิปไตย"'' ป้องกันกำลังจัดตั้งนักเรียนอาชีวะของฝ่ายขวาจัด ในการชุมนุมเรียกร้องของฝ่ายประชาธิปไตยอันนำไปสู่[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]] [[พ.ศ. 2519]] หลังจากถูกปราบปรามในเหตุการณ์ 6 ตุลา เขาถูกสถานการณ์กดดันให้ต้องหนีเข้าป่า ไปประจำเขตงานทางใต้ ([[จังหวัดสุราษฎร์ธานี|สุราษฏร์]]-[[จังหวัดชุมพร|ชุมพร]]) ใต้ร่มเงา[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]] นานถึง 8 ปี
 
หลังเมื่อออกจากป่า เมื่อในปี พ.ศ. 2528 ก็เข้าทำงานกับ[[มูลนิธิดวงประทีป]] และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกระทั่งปัจจุบัน ก็เข้าทำงานอยู่กับที่[[มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย]] โดยเริ่มตั้งแต่ตำแหน่งเจ้าหน้าที่, เลขาธิการ และกรรมการมูลนิธิฯ จนกระทั่งเสียชีวิต
หลังถูกปราบปราม [[6 ตุลา 2519]]...ถูกสถานการณ์กดดันให้ต้องหนีเข้าป่า ไปประจำเขตงานทางใต้ (สุราษฏร์-ชุมพร) ใต้ร่มเงาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย นานถึง 8 ปี
 
สุวิทย์เคยเป็นเลขาธิการ[[คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย]] (ครป.) ที่ปรึกษา[[สมัชชาคนจน]], ที่ปรึกษา[[เครือข่ายสลัม 4 ภาค]] และเลขาธิการ[[เครือข่ายคนเดือนตุลา]] และมีบทบาทขับไล่เผด็จการใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] [[พ.ศ. 2535]]
หลังออกจากป่า เมื่อปี 2528 เข้าทำงานกับมูลนิธิดวงประทีป ต่อมาปี 2532 จนกระทั่งปัจจุบัน ทำงานอยู่กับมูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย เริ่มตั้งแต่เจ้าหน้าที่, เลขาธิการ และกรรมการมูลนิธิฯ
 
หลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|เหตุการณ์รัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ. 2549]] เขาเก็บตัว ลดกิจกรรมที่เคยร่วมกับ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ลง เนื่องจากตั้งใจจะเคลื่อนไหวตั้งพรรคการเมืองภาคประชาชนดังที่เคยคิดไว้กับผู้ร่วมอุดมการณ์ เพื่อผลักดันประชาธิปไตยในแนวทางรัฐสภา
เคยเป็น เลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย(ครป.) ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค และเลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา และมีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาคม 2535
 
กระทั่ง สุวิทย์เสียชีวิตเมื่อเที่ยงคืนของวันที่ [[12 มีนาคม]] เขาก็ต้องจากไปอย่างเงียบๆ[[พ.ศ. 2550]] ด้วย[[โรคหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน ]]
หลังจากรัฐประหาร 19 กันยา 49 สุวิทย์ วัดหนู เร้นตัวไม่ค่อยสังฆกรรมกับพันธมิตรฯ นัก เพราะตั้งใจจะหันกลับไปเคลื่อนไหวตั้งพรรคการเมืองภาคประชาชน ที่เคยคิดการณ์ไว้กับเพื่อนพ้องน้องพี่ เพื่อผลักดันประชาธิปไตยในแนวทาง
โดยนางสุวรรณี วัดหนู ภรรยาบอกว่า ก่อนหน้านั้นเขาไปประชุมกับเครือข่าย แล้วเมื่อกลับมาบ้าน ก็รับประทานอาหารและดูโทรทัศน์ จากนั้นได้บ่นปวดหลัง จึงให้ภรรยานวด และกินยานอนหลับ (ซึ่งทำเป็นประจำเมื่อมีอาการปวดหลัง) หลังจากอาบน้ำและเข้านอนตามปกติแล้ว คืนนั้นภรรยาเขาเธอแปลกใจที่ไม่ได้ยินเสียงเขานอนโกรนกรนเช่นที่เคยเป็น เมื่อลองเรียกก็ไม่เสียงตอบ กระทั่งไปปลุกพบว่าหมดสติไปแล้ว จึงนำตัวส่งโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ สุขาภิบาล 3 แต่แพทย์ระบุว่าเสียชีวิตก่อนมาถึง
 
กระทั่ง เที่ยงคืนของวันที่ 12 มีนาคม เขาก็ต้องจากไปอย่างเงียบๆ ด้วยโรคหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
 
นางสุวรรณี วัดหนู ภรรยาบอกว่า ก่อนหน้านั้นเขาไปประชุมกับเครือข่าย แล้วกลับมาบ้าน รับประทานอาหารและดูโทรทัศน์ บ่นปวดหลัง ให้ภรรยานวด และกินยานอนหลับ ประจำเมื่อมีอาการปวดหลัง หลังจากอาบน้ำและเข้านอนตามปกติ คืนนั้นภรรยาเขาแปลกใจที่ไม่ได้ยินเสียงนอนโกรนเช่นที่เคยเป็น เมื่อลองเรียกก็ไม่เสียงตอบ กระทั่งไปปลุกพบว่าหมดสติไปแล้ว จึงนำตัวส่งโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ สุขาภิบาล3 แต่แพทย์ระบุว่าเสียชีวิตก่อนมาถึง
 
โดยญาติจะตั้งสวดพระอภิธรรมศพ ณ วัดสามัคคีบรรพต ต.บางสะเหร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
 
ปิดฉากนักเคลื่อนไหว นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของภาคประชาชนไปอีกคนหนึ่ง โดยที่ประชาธิปไตยในฝันของเขายังไม่เป็นจริง
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
เส้น 27 ⟶ 26:
 
{{เกิดปี|2495}}{{เสียชีวิตปี|2550}}
[[หมวดหมู่:การเมืองภาคประชาชน]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักสิทธิมนุษยชนชาวไทย]]
{{โครงชีวประวัติ}}
{{การเมืองภาคประชาชน}}
[[หมวดหมู่:การเมืองภาคประชาชน]]