ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอาจารย์ดี ฉนฺโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ประวัติ
บรรทัด 32:
ปี [[พ.ศ. 2470]] ''พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'' ได้ขอทำการ [[ทัฬหิกรรม]] ญัตติเป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์[[ธรรมยุติกนิกาย]] ณ พระอุโบสถวัดสร่างโศก อำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะนั้น ปัจจุบันคือ [[วัดศรีธรรมาราม]] (พระอารามหลวง) อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร โดยมี ''พระครูจิตตวิโสธนาจารย์ (ทองพูน โสภโณ)'' เป็นพระอุปัชฌาย์ ในการนี้[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] และพระอาจารย์ที่ติดตามอีกหลายรูปร่วมนั่งหัตถบาตร
 
== ชีวิตในร่มกาสาวพัตร์กาสาวพัสตร์และการศึกษาธรรม ==
 
ปี [[พ.ศ. 2457]] หลังจากอุปสมบทแล้ว ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้มาจำพรรษาอยู่ที่วัดศรีบุญเรืองท่าแขก (วัดบ้านกุดแห่) ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ได้พัฒนาวัดจนเจริญรุ่งเรืองมีชื่อเสียงมากในยุคนั้น ท่านเป็นพระนักเทศนาโวหาร มีม้าเป็นพาหนะ ขี่ม้าไปเทศน์ตามบ้านต่างๆ เป็นพระนักพัฒนา มีความรู้ความชำนาญในด้านช่างไม้ ช่างก่อสร้าง งานแกะสลัก จึงได้ก่อสร้างเสนาสนะ ศาลาโรงธรรม หอธรรมาสน์อันมีลวดลายวิจิตร หอไตรรูปทรงสวยงามสำหรับเก็บหนังสือพระธรรมใบลาน อีกทั้งยังเก่งวิชาคาถาอาคมและมีความรู้ด้านยาสมุนไพรจึงมีลูกศิษย์มากมาย [[File:หลวงปู่ดี3.jpg|thumb|ศาลาวัดป่าสุนทราราม สร้างในสมัยหลวงปูดี ฉนฺโน เป็นเจ้าอาวาส]]
 
ปี [[พ.ศ. 2465]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้ออกธุดงค์เที่ยวหาเรียนวิชาอาคม หาของขลังและหาความรู้เพิ่มเติม ท่านได้เดินทางขึ้นไปทางสกลนคร นครพนม จึงได้พบกับ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ที่บ้านสามผง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เมื่อได้ฟังธรรมจาก ''[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต'']] แล้ว จึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธาเชื่อว่าหลวงปู่มั่นเป็นผู้มีญาณวิเศษสำเร็จแล้ว เพราะทักท้วงได้อย่างถูกต้องเหมือนตาเห็นเป็นอัศจรรย์ จึงได้กราบขอฝากตัวเป็นลูกศิษย์ ให้ช่วยชี้แนะแนวทางประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย และได้จำพรรษาในเขตจังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร
 
ในปี [[พ.ศ. 2469]] มีเหตุการณ์สำคัญของ ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ที่ทำให้กองทัพธรรมสายของ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] และ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ซึ่งขณะนั้นพำนักอยู่เสนาสนะ บ้านสามผง [[อำเภอศรีสงคราม]] [[จังหวัดนครพนม]] มีชื่อเสียงโด่งดังและได้รับความศรัทธาอย่างสูง เหตุการณ์ที่ว่านี้เป็นเพราะพระเถระที่ชาวบ้านศรัทธามาก 3 รูปได้ขอญัตติเป็นพระฝ่าย[[ธรรมยุต]] ติดตามปฏิบัติธรรมไปกับ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ได้แก่ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ]] [[พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺตโก]] และ[[พระอาจารย์สีลา อิสฺสโร]]
 
ปี [[พ.ศ. 2470]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้ทำการ [[ทัฬหิกรรม]] ญัตติเป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์[[ธรรมยุติกนิกาย]] ณ พระอุโบสถวัดสร่างโศก อำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะนั้น ปัจจุบันคือ [[วัดศรีธรรมาราม]] (พระอารามหลวง) อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร โดยมี ''พระครูจิตตวิโสธนาจารย์ (ทองพูน โสภโณ)'' เป็นพระอุปัชฌาย์ ในการนี้ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] และพระอาจารย์ที่ติดตามอีกหลายรูปร่วมนั่งหัตถบาตร
 
ปี [[พ.ศ. 2471]] เมื่อได้ฝึกอบรมจิตภาวนาและข้อวัตรปฏิบัติกับ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] แล้ว ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] จึงธุดงค์กลับไปปักกลดที่ ''ดอนคอกวัว'' เพื่อโปรดชาวบ้านกุดแห่ พ่อเฒ่าฝ่ายหน้า บุรารัตน์ เจ้าของที่ดินแปลงนี้ได้ถวายที่ดินเพื่อให้สร้างวัด ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] จึงสั่งให้ญาติโยมรื้อศาลากุฏิจากวัดศรีบุญเรืองท่าแขกทั้งหมดเอาไปปลูกสร้างวัดใหม่ที่บริเวณดอนคอกวัว หรือก็คือ [[วัดป่าสุนทราราม]] ในปัจจุบัน ซึ่งพื้นที่วัดศรีบุญเรืองท่าแขกเดิมได้กลายเป็นธรณีสงฆ์ของวันป่าสุนทรารามในปัจจุบัน
 
ในระหว่างพรรษานี้ [[พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม]] ศิษย์อาวุโสของ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ซึ่งอยู่จำพรรษาที่บ้านหนองขอน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับจดหมายนิมนต์จาก ''พระครูพิศาลอรัญเขต'' เจ้าอาวาสวัดศรีจันทร์และเจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดขอนแก่นในขณะ ต่อมาก็คือ [[พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมิโย)]] ให้ไปช่วยเผยแผ่ธรรมปฎิบัติให้กับประชาชนชาว[[จังหวัดขอนแก่น]] หลังจากออกพรรษา ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] จึงได้เดินทางไปบ้านน่าหัวงัวเพื่อนมัสการ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] และร่วมประชุมปรึกษาหารือในกิจนิมนต์ดังกล่าว ในการนี้มีพระภิกษุสามเณรลูกศิษย์ของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] และ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] จากเมืองอุบลฯ เมืองสกลฯ เมืองนครพนม เมืองยโสธร เมืองหนองคาย และเมืองเลย ต่างก็เดินทางมาประชุมพร้อมกันในช่วง[[วันมาฆบูชา]] วันเพ็ญเดือน 3 ณ ''บ้านนาหัวงัว'' [[อำเภอกุดชุม]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]ในขณะนั้น หรือในปัจจุบันคือ[[ยโสธร]] เมื่อที่ประชุมคณะสงฆ์ตกลงเห็นพ้องต้องกันแล้ว จึงได้แยกย้ายกันเดินทางมุ่งสู่[[จังหวัดขอนแก่น]] คณะสงฆ์กองทัพธรรมนำโดย [[พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม]] [[พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล]] [[พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ]] [[พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ]] [[พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺตโก]] [[พระอาจารย์สีลา อิสฺสโร]] เป็นต้น เมื่อไปถึงแล้วได้พำนักที่ ''ป่าช้าโคกเหล่างา'' ด้านทิศตะวันออกของเมืองขอนแก่น คณะสงฆ์จึงได้ร่วมกันสร้าง ''สำนักสงฆ์ป่าช้าโคกเหล่างา'' หรือ ''วัดป่าเหล่างา'' ขึ้น ซึ่งปัจจุบันก็คือ [[วัดป่าวิเวกธรรม]] อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
 
ปี [[พ.ศ. 2472]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้สร้างสำนักสงฆ์และจำพรรษาที่ ''วัดป่าโคกโจด'' ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ได้เทศนาสั่งสอนประชาชนให้ละมิจฉาทิฐิ เลิกจากการถือภูตฝีปีศาจ ให้ตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมน์ กำหราบหมอผีมนต์ดำเดรัชฉานวิชา รักษาชาวบ้านด้วยยาสมุนไพร ตลอดระยะเวลา 3 ปี
 
ปี [[พ.ศ. 2475]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้ออกเดินธุดงค์ไปโปรดประชาชนชาวจังหวัดขอนแก่น ผ่านบ้านโสกแสง อำเภอน้ำพอง บ้านเม็งใหญ่ บ้านยางคำ อำเภอหนองเรือ และบ้านกุดเค้า อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น จึงได้พำนักจำพรรษาบริเวณนี้
 
ปี [[พ.ศ. 2476]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้จำพรรษาอยู่ที่ ''วัดป่าศิลาวิเวก'' อำเภอเมือง [[จังหวัดมุกดาหาร]] ในช่วงนี้ท่านได้ปฎิบัติธรรมกรรมฐานทำความเพียรอย่างอุกฤษฎ์ และได้รับ ''สามเณรถิร บุญญวรรณ'' เป็นศิษย์ ซึ่งต่อมาก็คือ ''หลวงปู่ถิร ฐิตธมฺโม'' หรือ [[พระครูสถิตธรรมวิสุทธิ์ (ถิร ฐิตธมฺโม)]]
 
ปี [[พ.ศ. 2479]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ได้มีโอกาสกราบถวายตัวเป็นศิษย์ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] และได้ออกธุดงค์ติดตามหลวงปู่ใหญ่เสาร์ตลอด จนกระทั้งวาระสุดท้ายที่หลวงปู่เสาร์มรณภาพ
 
ในปีนั้น [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้ปรารภถึงการเดินทางกลับ[[จังหวัดอุบลราชธานี]] คณะศิษย์ทั้งหลายจึงได้จัดประชุมคณะสงฆ์และร่วมทำบุญใน[[วันมาฆบูชา]] ณ ''วัดอ้อมแก้ว'' หรือ [[วัดเกาะแก้วอัมพวัน]] [[อำเภอธาตุพนม]] [[จังหวัดนครพนม]] ถือเป็นภารกิจสุดท้ายของหลวงปู่ใหญ่เสาร์ที่จังหวัดนครพนมและถือเป็นโอวาทครั้งสุดท้ายแก่คณะศิษย์ที่ไม่ได้เดินทางติดตามไปที่จังหวัดอุบลราชธานี การประชุมในครั้งนี้ ถือเป็นการประชุมพระธุรงค์กรรมฐานครั้งใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครพนมในสมัยนั้น
บรรทัด 58:
คณะศิษย์ได้เดินทางติดตาม [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ไปพำนักที่จังหวัดอุบลราชธานี ในครั้งนั้นมีไม่น้อยกว่า 70-80 รูป หลวงปู่ใหญ่เสาร์จึงแบ่งคณะศิษย์ออกเป็นหลายกลุ่มหลายคณะ โดยมีศิษย์อาวุโสรับเป็นหัวหน้าแต่ละคณะ พร้อมทั้งกำหนดหมู่บ้านต่างๆ ที่แต่ละคณะจไปพำนักเพื่อโปรดญาติโยมชาวเมืองอุบลราชธานี เช่น [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ไปพำนักจำพรรษาที่บ้านข่าโคม บ้านเกิดของท่าน [[พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล]] ศิษย์อาวุโสฝ่าย[[มหานิกาย]] ไปตั้งวัดจำพรรษาอยู่ที่บ้านชีทวน [[พระอาจารย์บุญมาก ฐิติปุญโญ]] ไปอยู่บ้านท่าศาลา [[พระอาจารย์ทอง อโสโก]] ไปอยู่บ้านสวนงัว และ[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ไปอยู่บ้านกุดแห่ ซึ่งเป็นบ้านของท่าน เป็นต้น
[[File:วัดภูเขาแก้ว7.jpg|thumb|พระอุโบสถวัดภูเขาแก้ว ในปัจจุบัน]]
ปี [[พ.ศ. 2480]] [[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)]] ในขณะที่ดำรงสมณศักดิ์เป็น ''พระพรหมมุนี'' และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส[[วัดสุปัฏนาราม]]และเจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ได้ขอให้ [[พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)]] พิจารณาสร้างวัดป่ากรรมฐานขึ้นที่[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] ด้วยเหตุนี้ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] จึงมอบหมายให้ ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] ออกธุดงค์ไปยัง[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] ตั้งสำนักปฎิบัติธรรมกรรมฐานที่ '''ป่าช้าโคกภูดิน''' บริเวณเนินเขาสูง โดยมี[[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)]]และชาวอำเภอพิบูลมังสาหารได้ให้การสนุนสนับ ชาวบ้านเรียกสำนักแห่งนี้ว่า 'วัดป่าภูดิน'' หรือ ''วัดป่าภูเขาแก้ว'' โดยมี ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและอยู่จำพรรษาที่วัดแห่งนี้ ซึ่งในปัจจุบันก็คือ [[วัดภูเขาแก้ว]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
 
ปี [[พ.ศ. 2481]] ''พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'' และชาวอำเภอพิบูลมังสาหาร ได้ก่อสร้าง [[วัดดอนธาตุ]] ขึ้นเพื่อถวาย [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] เนื่องด้วยหลวงปู่ใหญ่เสาร์ได้ไปสำรวจเกาะแก่งน้อยใหญ่ตามลำ[[แม่น้ำมูล]]ทางตอนใต้ของเมืองพิบูลมังสาหาร และได้ปรารภว่าอยากสร้าง ''เกาะดอนธาตุ'' ขึ้นเป็นวัดป่ากรรมฐานเพราะมีความเหมาะสม จึงมอบหมายให้ ''พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'' รับหน้าที่ดูแลการสร้างวัดและเสนาสนะต่อไป ซึ่งในวัดแห่งนี้ได้สร้าง ''พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน)'' ขึ้นตามดำริของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] โดยมี [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เป็นช่างปั้นพระพุทธรูปในครั้งนี้ และในการนี้ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้ตั้งชื่อ ''เกาะดอนธาตุ'' แห่งนี้ว่า ''วัดเกาะแก้วพระนอนคอนสวรรค์วิเวกพุทธกิจศาสนา'' ครูบาอาจารย์ในสมัยนั้นเรียกสั้นๆว่า ''วัดเกาะแก้ว'' ต่อมากรมการศาสนาได้เปลี่ยนชื่อให้เป็น [[วัดดอนธาตุ]] ในปัจจุบัน ซึ่งปัจฉิมวัยของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้พำนักจำพรรษา ณ [[วัดดอนธาตุ]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] อันเป็นสถานที่ที่ ''พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'' สร้างถวายแห่งนี้
 
 
 
ปี [[พ.ศ. 2481]] ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] และชาวอำเภอพิบูลมังสาหาร ได้ก่อสร้าง [[วัดดอนธาตุ]] ขึ้นเพื่อถวาย [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] เนื่องด้วยหลวงปู่ใหญ่เสาร์ได้ไปสำรวจเกาะแก่งน้อยใหญ่ตามลำ[[แม่น้ำมูล]]ทางตอนใต้ของเมืองพิบูลมังสาหาร และได้ปรารภว่าอยากสร้าง ''เกาะดอนธาตุ'' ขึ้นเป็นวัดป่ากรรมฐานเพราะมีความเหมาะสม จึงมอบหมายให้ ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] รับหน้าที่ดูแลการสร้างวัดและเสนาสนะต่อไป ซึ่งในวัดแห่งนี้ได้สร้าง ''พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน)'' ขึ้นตามดำริของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] โดยมี [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เป็นช่างปั้นพระพุทธรูปในครั้งนี้ และในการนี้ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้ตั้งชื่อ ''เกาะดอนธาตุ'' แห่งนี้ว่า ''วัดเกาะแก้วพระนอนคอนสวรรค์วิเวกพุทธกิจศาสนา'' ครูบาอาจารย์ในสมัยนั้นเรียกสั้นๆว่า ''วัดเกาะแก้ว'' ต่อมากรมการศาสนาได้เปลี่ยนชื่อให้เป็น [[วัดดอนธาตุ]] ในปัจจุบัน ซึ่งปัจฉิมวัยของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้พำนักจำพรรษา ณ [[วัดดอนธาตุ]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] อันเป็นสถานที่ที่ ''[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน'']] สร้างถวายแห่งนี้
 
== อ้างอิง ==