ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความถี่วิทยุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Atmospheric electromagnetic transmittance or opacity.jpg|thumb|300px|ภาพแสดงช่วงความถี่ต่างๆ รวมถึงความถี่วิทยุด้วย]]
-->
 
== สเปกตรัมของความถี่วิทยุ ==
{| class="wikitable"
|-
! ชื่อย่านความถี่
! [[International Telecommunication Union|ITU]] ย่านที่
! ความถี่<BR />[[ความยาวคลื่น]]
! ตัวอย่างการใช้งาน
|-
| align = "center"|
| align = "center"|
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| < 3 [[Hertz|Hz]]<BR />> 100,000 [[กิโลเมตร|km]]
| align = "center"|
|-
| align = "center"| [[ELF]] (Extremely low frequency)
| align = "center"| 1
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 3-30 [[Hertz|Hz]]<BR />100,000 km - 10,000 km
| align = "center"| การสื่อสารกับเรือดำน้ำ
|-
| align = "center"| [[SLF]] (Super low frequency)
| align = "center"| 2
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 30-300 [[Hertz|Hz]]<BR />10,000 km - 1000 km
| align = "center"| การสื่อสารกับเรือดำน้ำ
|-
| align = "center"| [[ULF]] (Ultra low frequency)
| align = "center"| 3
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 300-3000 [[Hertz|Hz]]<BR />1000 km - 100 km
| align = "center"| การสื่อสารในเหมือง
|-
| align = "center"| [[VLF]] (Very low frequency)
| align = "center"| 4
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 3-30 [[เฮิรตซ์|kHz]]<BR />100 km - 10 km
| align = "center"| การสื่อสารใต้น้ำ, [[Avalanche#Beacons|avalanche beacons]], ระบบติดตามอัตราการเต้นของหัวใจแบบไร้สาย, ธรณีฟิสิกส์ (geophysics)
|-
| align = "center"| [[LF]] (Low frequency)
| align = "center"| 5
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 30-300 [[เฮิรตซ์|kHz]]<BR />10 km - 1 km
| align = "center"| วิทยุนำร่อง, [[สัญญาณเวลา]], ออกอากาศวิทยุ AM [[คลื่นยาว]]
|-
| align = "center"| [[MF]] (Medium frequency)
| align = "center"| 6
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 300-3000 [[เฮิรตซ์|kHz]]<BR />1 km - 100 [[m]]
| align = "center"| ส่งกระจายเสียงวิทยุ [[วิทยุ AM|AM]] คลื่นความยาวกลาง
|-
| align = "center"| [[HF]] (High frequency)
| align = "center"| 7
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 3-30 [[เฮิรตซ์|MHz]]<BR />100 m - 10 m
| align = "center"| [[วิทยุคลื่นสั้น]], [[วิทยุสมัครเล่น]] และ การสื่อสารทางการบินที่ระยะข้ามเส้นขอบฟ้า
|-
| align = "center"| [[VHF]] (Very high frequency)
| align = "center"| 8
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 30-300 [[เฮิรตซ์|MHz]]<BR />10 m - 1 m
| align = "center"| ส่งกระจายเสียงวิทยุ[[วิทยุ FM|FM]], ส่งสัญญาณออกอากาศ[[โทรทัศน์]] (บังคับได้ตั้งแต่ช่อง 1 ถึงช่อง 12 หรือบางกรณีส่งได้ถึงช่อง 13) และ การสื่อสารแบบแนวตรงไม่โดนบดบัง (line-of-sight) จากพื้นสู่อากาศ และ จากอากาศสู่อากาศ, [[วิทยุสมัครเล่น]]
|-
| align = "center"| [[UHF]] (Ultra high frequency)
| align = "center"| 9
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 300-3000 [[เฮิรตซ์|MHz]]<BR />1 m - 100 [[millimeter|mm]]
| align = "center"| ส่งสัญญาณออกอากาศ[[โทรทัศน์]] (บังคับได้ตั้งแต่ช่อง 13 ถึงช่อง 84) , [[โทรศัพท์มือถือ]] , Tablet PC , Laptop Computer , [[Wireless LAN]], [[บลูทูธ]], และวิทยุสองทาง เช่น วิทยุ FRS และ วิทยุ GMRS
|-
| align = "center"| [[SHF]] (Super high frequency)
| align = "center"| 10
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 3-30 [[เฮิรตซ์|GHz]]<BR />100 mm - 10 mm
| align = "center"| อุปกรณ์[[ไมโครเวฟ]], [[Wireless LAN]], [[เรดาห์]]สมัยใหม่
|-
| align = "center"| [[EHF]] (Extremely high frequency)
| align = "center"| 11
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| 30-300 [[เฮิรตซ์|GHz]]<BR />10 mm - 1 mm
| align = "center"| [[ดาราศาสตร์วิทยุ]], high-speed microwave radio relay
|-
| align = "center"| Submillimeter Wave
| align = "center"|
| align = "center" style="white-space: nowrap;"| ความถี่สูงกว่า 300 [[Gigahertz|GHz]]<BR />< 1 mm
| align = "center"|
|}
 
'''หมายเหตุ'''
 
* ที่ย่านความถี่สูงกว่า 300 GHz ชั้นบรรยากาศของโลกจะดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่กระจายออกได้มาก ทำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถแผ่กระจายออกไปได้ ซึ่งคลื่นแม่เหล็กในย่านที่สูงกว่า 300 GHz นี้จะไม่สามารถแผ่กระจายผ่านชั้นบรรยากาศได้ จนถึงย่านความถี่ช่วง อินฟราเรด และ ย่านความถี่แสง
* ย่าน ELF SLF ULF และ VLF จะคาบเกี่ยวกับย่าน[[ความถี่เสียง]]ซึ่งประมาณ 20-20,000 Hz แต่เสียงนั้นเป็นคลื่นกลจากแรงดันอากาศ ไม่ได้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
* ย่าน SHF และ EHF บางครั้งก็ไม่นับเป็นย่านความถี่วิทยุ แต่เรียกเป็นย่านความถี่ไมโครเวฟ
* อีกจุดหนึ่งที่น่าสังเกตคือ วัตถุทุกชนิดนั้นจะมีความถี่วิทยุของตัวเองไม่ว่าจะมีขนาดเล็กเท่าใดก็ตาม
* สำหรับการส่งสัญญาณโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบ VHF และ UHF ถ้าออกอากาศในระบบอนาล็อก จะส่งสัญญาณในลักษณะคู่ขนานได้ และในอนาคต เมื่อโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ยุติการส่งแบบอนาล็อก เพื่อเปลี่ยนแปลงเป็นดิจิตอล ระบบ VHF จะไม่สามารถออกอากาศหรือส่งระบบต่อไปได้ คงจะต้องถูกบังคับให้ส่งโทรทัศน์ดิจิตอลภาคพื้นดินในระบบ UHF เพียงระบบเดียวเท่านั้น
* คำว่า 3,5,7,9,11 (ยกเว้น ITV, TITV และไทยพีบีเอส) ที่คนไทยนิยมเรียกโดยรวมนั้น มีลักษณะตัวเลข แปลว่าประเทศไทย มีการส่งโทรทัศน์ในระบบ VHF ทั้งหมด 5 ช่อง ซึ่งการส่งสัญญาณดังกล่าว ทางสถานีส่งได้นำตัวเลขช่องสัญญาณ VHF ดังกล่าวมาเป็นชื่อของสถานีแต่ละช่อง คงจะมีแค่สถานีโทรทัศน์[[ไอทีวี]] [[ทีไอทีวี]] และ[[ไทยพีบีเอส]](สถานีเดียวกัน) ไม่เรียกตัวเลข เพราะว่า ทางสถานีได้ออกอากาศในระบบ UHF ทางช่อง 26 และช่อง 29 เท่านั้น
 
== ชื่อย่านความถี่วิทยุ ==