ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเวียงแหง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bp101697 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
http, <ref>, <br /> using AWB
บรรทัด 23:
อำเภอเวียงแหงมีชื่อเดิมว่า "เมืองแหง" มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองหน้าด่าน เมืองยุทธศาสตร์ตามเส้นทางการเดินทัพและการค้าระหว่าง[[เมืองเชียงใหม่]] ราชธานีของ[[อาณาจักรล้านนา]]กับเมืองอังวะ(Ava) โดยเดินทางผ่าน [[เมืองนาย]] ( Mong Nai , Mo-Ne ปัจจุบันอยู่ใน[[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]]และตั้งอยู่ห่างจากชายแดนเวียงแหง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 200 กม.) เมืองแหงตั้งอยู่กึ่งกลางของเส้นทางระหว่างเมืองเชียงใหม่ กับ "เมืองนาย"โดยเดินทางตามลำน้ำแม่แตง มีพื้นที่กว้างใหญ่ เหมาะแก่การสะสมเสบียงอาหารเลี้ยงกองทัพ มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ณ เมืองนี้มากมายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้<ref>ราชวงศาพื้นเมืองเชียงใหม่ ภาคปริวรรต ลำดับที่ ๔ คณะสังคมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] ๒๕๑๘</ref><ref>มหาราชวงษ์พงศาวดารพม่า, สำนักพิมพ์มติชน ๒๕๔๕</ref>
 
* เป็นเส้นทางเดินทัพของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] ยกกองทัพ 90,000 คน จาก [[ เมืองนาย]]ข้ามแม่น้ำสาละวิน ที่ [[ท่าผาแดง - Ta Hpa Lang]] มายึดเมืองเชียงใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2101
 
* เป็นเส้นทางเดินทัพของ 19 เจ้าฟ้าไทใหญ่ โดยประชุมทัพ ณ "เมืองนาย" ทหาร 60,000 คน ที่พระเจ้าบุเรงนองส่งมาช่วยเมือง[[พิษณุโลก]]ตามคำขอของขุนพิเรนทรเทพ เนื่องจากทาง[[ล้านช้าง]]ยกทัพมาประชิดเมืองพิษณุโลกในปี พ.ศ. 2108 ครั้นเคลื่อนทัพมาถึง "เวียงแหง" ได้รับหมายแจ้งว่ากองทัพล้านช้างทราบว่าพระเจ้าบุเรงนองส่งกองทัพมาช่วย จึงยกทัพกลับล้านช้าง พระเจ้าบุเรงนองจึงมีท้องตราเรียกกองทัพ 19 เจ้าฟ้าไทใหญ่กลับคืนมาตุภูมิ
บรรทัด 31:
* เป็นเส้นทางหลบหนีของแม่ทัพ[[เนเมียวสีหบดี]] ขุนศึกพม่าผู้พิชิต 3 อาณาจักร คือ ล้านนา ล้านช้าง และ[[อยุธยา]] หลังจากถูกกองทัพ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|พระเจ้าตาก]]สิน ขับไล่ออกจากเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2317 จนต้องหลบหนีไปตั้งหลักอยู่ที่ "เมืองนาย"
 
* เป็นเส้นทางเดินทัพที่พม่ากลัวกองทัพเชียงใหม่จะไปโจมตีพม่ามากที่สุดใน พ.ศ. 2388 เพราะระยะทางสั้น เดินง่าย และเป็นทางใหญ่ พม่าจึงตั้งด่านที่แม่น้ำสาละวิน ณ ท่าข้าม '''"ท่าผาแดง-Ta Hpa Lang"'''<ref>G+ :chaiyong chaisri. " ท่าผาแดง" ในประวัติศาสตร์ล้านนา, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ,หนังสือ "ข่วงผญา" ฉบับที่ 7/2555 รวมบทความล้านนาศึกษา ฉบับฉลองพุทธยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า หน้า 54-67, https://plus.google.com/+BetaChaiyo </ref> โดยให้ทหารลาดตระเวณตลอดเวลา<ref>คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย (2542) จดหมายเหตุนครเชียงใหม่ โรงพิมพ์ดอกเบี้ย กทม. หน้า 150-163 เรื่อง "คำให้การท้าวสิทธิมงคล" จารบุรุษเมืองเชียงใหม่ ไปสืบราชการลับในพม่าและถูกจับติดคุกที่ '''"เมืองนาย"''' นาน 1 ปี 1 เดือน 3 วัน เมื่อพ้นโทษจึงเดินทางกลับมาเชียงใหม่ และลงไปกรุงเทพฯให้ปากคำกับพระยาจุฬาราชมนตรี ในรัชกาลที่ 3</ref> ดังที่พระยาจุฬาราชมนตรี ในรัชกาลที่ 3 บันทึกปากคำท้าวสิทธิมงคล ซึ่งเป็นจารบุรุษของเมืองเชียงใหม่ ไปสืบราชการลับในพม่า และถูกพม่าจับขังคุกที่ '''เมืองนาย''' เป็นเวลานาน 1 ปี 1 เดือน 3 วัน ครั้นพ้นโทษจึงกลับเมืองเชียงใหม่ และเดินทางไปกรุงเทพฯเพื่อให้ปากคำ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2388 ความว่า...
''(คัดลอกตามต้นฉบับ'') ...''ระยะทางแต'''เมืองน้าย จะ'''มาเถึง '''แมนำคง''' มาได้ 5 ทาง ....ทางหนึ่งค่างต่วันออกเฉยิงไต เดืนแต '''เมืองนั่าย''' ทางคืนนึงเถึง'''เมืองปัน''' แตเมืองปันมาทางคืนนึงเถึง '''ถัผาแดง''' ตกแมนำคง ทางนีเดืนง้ายเปนทางไหญ ไก้ล '''เมืองเชยิงไห้ม'''พ่มากลัวกองทัพเมอิงเชยิงไห้ม จะยกไปทางนีจึงมาตังด่านทีฝังแมนำคง '''ถ้าผาแดง''' แหงนึง ที '''เมืองปัน''' แหงนึง พ่มาพัลตเปลยีนกันมาลาตระเวนไมขาษ...''
 
เรียบเรียงใหม่ได้ดังนี้ " ระยะทางแต่'''เมืองนาย''' จะมาถึง'''แม่น้ำคง('''สาละวิน) มาได้ 5 ทาง... ทางหนึ่งข้างตะวันออกเฉียงใต้ เดินแต่ '''เมืองนาย''' ทางคืนหนึ่ง ถึง '''เมืองปั่น''' แต่เมืองปั่นมาทางคืนหนึ่ง ถึง '''"ท่าผาแดง'''" ตะวันตกแม่น้ำคง ทางนี้เดินง่าย เป็นทางใหญ่ ใกล้'''เมืองเชียงใหม่''' พม่ากลัวกองทัพเมืองเชียงใหม่จะยกไปทางนี้'''จึงมาตั้งด่าน'''ที่ฝั่งแม่น้ำคง '''ท่าผาแดง''' แห่งหนึ่ง ที่ '''เมืองปั่น''' แห่งหนึ่ง พม่าผลัดเปลี่ยนกันมาลาดตระเวณไม่ขาด.."
บรรทัด 42:
...." ''ทรงพระกรรุณาโปรดเกล้าฯ ชุบเลี้ยงข้าพระเจ้าเปน '''เจ้าอุปราช เจ้าราชวงษ เจ้าราชบุตร''' สำรับรักษา เขตรแดนเมืองเชียงใหม่'' ''ด้วย'''เจ้าเชียงใหม่''' ใม่ตั้งอยู่ในทศมิตราชธรรมประเพนีและพระบรมราโชวาทพระราชบัญญัติแลคำอะธีถานถือน้ำพระพิพัตรสัจา ประการหนึ่งทุกวันนี้ เจ้าบุรียรัตน บุตรเขยเจ้าเชียงไหม่แลเจ้าราชภาคีนัย เปนที่ปฤกษา '''เกนให้นายบุญทากับไพร่'''มากน้อยเท่าใดไม่ทราบไปรักษา '''เมืองแหง''' ให้ถางตะลอดกระทั่งถึงริมน้ำ '''ท่าผาแดง''' ครั้นอยู่มาพม่านายไพร่เปลียนชื่อเปนขุนนางเงี้ยว(ไทใหญ่) ถือหนังสือฉบับหนึ่งเข้ามาทาง '''ท่าผาแดง''' มาถึง'''เมืองแหง''' ส่งพม่านายไพร่ เข้ามาถึงเมืองเชียงไหม่ เจ้าเชียงไหม่เกนให้ท้าวพระยารับตอ้นพม่าไปที่ภักข้าหลวงมายั้งอยู่แต่ก่อน เจ้าเชียงไหม่เลี้ยงดูเปนอันมาก กับให้พิทักษรักษายิ่งกว่าข้าหลวงมาแต่ก่อน'' '''''ประการหนึ่งคบคิดเปนมิตรไมตรีกับพม่าข้าศึกแลให้ช้างสองช้าง ปืนคาบสิลา 8 บอก''' กับคนใช้ในเมืองเชิยงไหม่สองคนผัวเมียกับหนังสือฉบับหนึ่ง ข้อความในหนังสือประการใดข้าพเจ้าไม่ทราบ แล้ว'''เจ้าเชียงไหม่เกนให้แสน ท้าวกับไพ่ร ในเมืองเชียงไหม่ส่งแลพีทักษรักษาพม่ากลับคืนไปทาง''' '''เมืองแหง''' ถึง '''ท่าผาแดง''' ประการหนึ่งเจ้าเชียงไหม่กดขี่คุมเหงข้าพเจ้า แสน ท้าว พระยา อนาประชาราษฎรได้ความเดือษรอ้นเปนอันมาก '''ครั้นเดือน 12 เกนไพร่ประมาณ 700-800 ว่าจะไปถางที่ส่งพม่ากลับคืนออกไป''' '''แลเจ้าเชียงไหม่ทำไมตรีกับพม่าข้าศึกแลเกนคนไปทำทาง''' ข้อราชการอันนี้เจ้าเชียงไหม่ก็หาได้ปฤกษาข้าพเจ้าไม่ ขอท่านได้นำเอาข้อความอันนี้ขึ้นกราบบังคมทูลพระกรรุนาแด'''พระบาทสมเดจ์พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเดจ์พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว''' ให้ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทด้วย สิ่งประการใดข้าพเจ้าจะดีมีความชอบ ขอบุญปัญา ฯพัณฯ สมุหนายกเปนที่พึ่งแก่ข้าพเจ้าดว้ย
 
บอกมา ณ วนั 3 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 12 ปีฉลูสัปตศก.''."
 
* เป็นเส้นทางการค้าระหว่างเชียงใหม่ กับ พม่า ในสมัยพระเจ้าอินทรวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 (ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5) ปี พ.ศ. 2417<ref>กองจดหมายเหตุแห่งชาติ รหัส ร.5 ม.2 12 ก. ใบบอก หนังสือพระเจ้าอินทรวิชยานนท์ กราบบังคมทูล เรื่องให้จัดการรักษาเขตแดนตามหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2417</ref> ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2416 รัฐบาลสยาม กับรัฐบาลอังกฤษที่ปกครองพม่าในขณะนั้น ได้ลงนามในสัญญาไมตรีเพื่อส่งเสริมการพาณิชย์ ที่เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า "สัญญาเชียงใหม่"โดยมีสาระประการหนึ่งว่า
บรรทัด 53:
'''เมืองแหงเหนือ เมืองแหงใต้''' เมืองนะ เมืองแกนน้อย เพื่อป้องกันชายแดน และแแต่งตั้งให้ '''"ฮ้อยสาม'''" เป็น '''"แสนธานีพิทักษ์''' " '''เจ้าเมืองแหง'''<ref>วารสาร "รวมบทความประวัติศาสตร์"(2539) ฉบับที่ 18 เรื่อง รายงานระยะทางในราชการตรวจพระราชอาณาเขตหัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ ร.ศ. 108</ref> ใน พ.ศ. 2428
 
* เป็นเส้นทางราชการตรวจพระราชอาณาเขตหัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ ร.ศ.108 ของคณะพระวิภาคภูวดล(James Fitzroy McCarty.) เจ้ากรมแผนที่ทหารคนแรกของไทย ใน พ.ศ. 2432<ref>รวมบทความประวัติศาสตร์(2539) ฉบับที่ 18 เรื่อง รายงานระยะทางในราชการตรวจพระราชอาณาเขตหัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ ร.ศ. 108</ref> ดังรายงานของ'''นายแถลงการวิตถกิจ'''(เป็นชื่อบรรดาศักดิ์)ที่เสนอต่อพระวิภาคภูวดล ดังนี้
 
..." ''ข้าพเจ้านายแถลงการวิตถกิจ ทำริโปด(Report)ระยะทางในราชการตรวจพระราชอาณาเขตร์หัวเมืองลาวฝ่ายเหนือ ในปีรัตนโกสินทร์ศก 108 ยื่นต่อพระวิภาคภูวดล เจ้ากรมฉบับหนึ่ง
บรรทัด 63:
 
''เขียน ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๔
ข้าพเจ้าพระยาดำรงค์ราชสีมา ผู้ว่าราชการเมืองปาย ปฏิบัตินมัศการกราบเรียนองค์เป็นเจ้าอยู่หัวเจ้าราชวงษ ซึ่งสำเร็จราชการกรมมหาดไทย ทหารเมืองนครเชียงใหม่ ณ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๔ ข้าพเจ้าได้ "จับยับ"<ref>ใช้คำซ้ำ "จับ" เป็นภาษาไทย "ยับ" เป็นภาษาล้านนา มีความหมายเหมือนกัน</ref> เอาพวกคนใช้ "ปู่เมอุก"<ref>"ปู่เมอุก" เป็นอีกชื่อหนึ่งของแสนธานีพิทักษ์ ซึ่งเป็นภาษาไทยใหญ่ </ref> พ่อเมืองแหง ปล่อยมาฟังร้ายดีใน เมืองปาย นี้ ๓ คนด้วยกัน ผู้ ๑ ชื่ออ้ายพุด ผู้๑ ชื่ออ้ายคำ ผู้หนึ่งชื่ออ้ายยี่ ...ด้วยตัวอ้ายสามคนที่พ่อเมืองแหงใช้มานั้น ข้าพเจ้าได้จับเอาตัวอ้ายสามคนนั้นใส่เหล็กไว้ในเมืองปาย นี้แล้ว ครั้นข้าพเจ้าจึงถามอ้ายสามคนด้วยรายเมืองแหงเป็นขโมยนั้นอ้ายพุด อ้ายคำ อ้ายยี่ จึงให้การว่า
ณ วันที่ ๖ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๔ ปู่เมอุก ผู้เป็นพ่อเมืองแหง ได้บังคับ ปู่เถิกซะ "เป็นแก่"<ref>"แก่"เป็นภาษาล้านนา ในที่นี้ หมายถึงผู้นำชุมชน หรือผู้ใหญ่บ้าน</ref> ปู่แย แลราษฎรในเมืองแหง คนรวม ๓๐ คนซ้ำบังคับให้ปู่จองมองเป็นแก่ คุมพวกคนนักเลงนอกเขตรเมืองแหงนั้นรวมคน ๓๐ คน พวกนักเลงกับพวกคนเมืองแหงสมรวมสองรายเป็นคน ๖๐ คน นี้ยกออกไปตั้งกองทัพลวงเอาฆ่าคนที่ "เมืองแพนปู" พวกเมืองแหง ว่าอย่างนี้ ให้ปู่เถิกซะกับปู่จองมองผู้เป็นแก่สองแก่ยกเอาคน ๖๐ คน มายัง "เมืองแพลน" ครั้นเข้ามาอยู่เมืองแพลนแล้วนั้นพวกบ้านเมืองเป็นความเดือดร้อน "แพลนห้วยป่ามุง" "แม่ละนายางไม้แดง" ซ้ำพากันมารวมเป็นขะโมย รวมทั้งมวนประมาณจะมีสัก ๑๐๐ คนเสศอยู่ ครั้นมาตีเมืองปาย "บ่อแตกบ่อป่าย" บ่อหนีแล้วขะโมย เมืองแหงจึงแตกตื่น "ป่ายหนี"<ref>"ป่ายหนี" มีความหมายว่า แพ้แล้วหนี</ref> กลับคืนมา"แผว"<ref>"แผว" มีความหมายว่า "ถึง"</ref> เมืองแหงคืนที่เก่า ขะโมยพวกเมืองแหงแผวคืนเมือแล้วนั้นเขาพากันมาจับภ่อดูคนตายถูกปืน มีโป่คำลายหนึ่งกับโป่คำไสสองคนเท่านั้นแล้ว เห็นตายอยู่ริมหัวบ้านพระยาดำรงค์ เขาพูดกันว่าดังนี้ ตั้งแต่เขามาตีเมืองปายแล้วนี้ โป่สุก กับโป่จองมอง "ก็บ่อหันแล้ว"<ref>"ก็บ่อหันแล้ว" หมายถึง ไม่เห็นแล้ว </ref> เขาว่ามันไปเชียงใหม่ ได้ยินเขาพูดกันว่าอย่างนี้แล้ว พวกบ้านเมืองแพลน เมืองน้อย บ้านห้วยป่ามุงก็หนีคืนเมือหา ปู่เมอุก พ่อเมืองแหงๆ มีอาญาให้คนทั้งหลายคนเก่าคนแก่แม่หญิงลูกอ่อนไปอยู่ "บ้านสันป่าแปลกยาว"<ref>"บ้านสันป่าแปลกยาว" เป็นชื่อเฉพาะและเป็นภาษาไทใหญ่หมายถึงหมู่บ้านต้นไม้สน ปัจจุบันอยู่ในตำบลเปียงหลวง</ref> นั้นเสีย คนหนุ่มทั้งหลายก็พากัน "เกิ๊ดที่ทางปล่อง"<ref>"เกิ๊ดที่ทางปล่อง" หมายถึง ตั้งด่านตรวจประจำช่องทาง</ref> "ทางปล่องห้วยหก" ปู่น้อยแสนเป็นแก่ไปเกิ๊ดเฝ้าอยู่คนสัก ๑๐ คนเสศ "ทางปล่องสันกำแพง" หื้อปู่กองยาติโกลวดไปอยู่เฝ้าคน ๑๐ เสศ ทาง"ปล่องน้ำบ่อหมาเลีย" นั้นหื้อโป่กำแลกเป็นแก่ไปเกิ๊ดเฝ้าอยู่ท่า(ถ้า)เห็นคนเมืองปายฟันตายนั้นเสี้ยง(ให้หมด) อย่าให้ลุกสักคน ในเวียงหื้อโป่แยคุมพวกคนนักเลง ๔๐ คน อยู่เฝ้าได้ยินเสียงปืนออกตำบลใด หื้อออกรับตำบลนั้น พ่อเมืองแหง เกณฑ์คนกันไว้อยู่อย่างนี้แล้วเดี๋ยวนี้แล้ว
ข้อ ๒ ข้าพเจ้าอ้ายพุด อ้ายคำ อ้ายยี่ รู้จักนั้นมีคนของ "ปู่อำนาจจะเล" "ส่างยี" "เมืองนาย"นั้น ๒๕ คน กับปู่เถิกซะเมืองแหง ๑ โป่จาง ๑ โป่มอง ๑ ปู่น้อยสวน ๑ ปู่เมยาแม่หองจู ๑ ปู่กันณะผีเถื่อน ๑ อ้ายคำคนในเรือนพ่อเมืองแหง ๑ อ้ายพุดคนในเรือนพ่อเมืองแหง ๑ อ้ายกันณะหลานพ่อเมืองแหง ๑ อ้ายจิณ ๑ อ้ายซางทุน ๑ อ้ายอ๋อ ๑ ตังแกลาย ๑ สลอบตัน ๑ จองเคื่อง ๑ บัวสุ ๑ บัวคำใส ๑ บ้านหนองน้อย ๑ คนที่ข้าพเจ้าสามคนรู้จักเท่านี้
บรรทัด 71:
อีกข้อหนึ่งปู่เมอุก พ่อเมืองแหงว่าเรารอฟัง "พวกคนนักเลงเมืองตะวันตกจะอยู่แถม ๒๐๐ นั้นแผวมาเราก่อน" ครั้นคนพวกนั้นแผวเราแล้วจะตีจะรบเมืองใดก็เป็นที่ลองใจเรานั้น ปู่เมอุกพ่อเมืองแหงว่าอย่างนี้หื้อพวกคนทั้งหลายอยู่
อีกข้อหนึ่งตุลาการเฒ่าแก่เมืองปายซ้ำถามอ้ายพุด อ้ายคำ อ้ายยี่นั้นว่า "เมืองคอง"<ref>"เมืองคอง" เป็นชื่อเฉพาะ ปัจจุบันคือ ตำบลเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ </ref> ก่อนนั้นดู ขะโมยที่ไหนไปตี อ้ายพุดจึงให้การว่าขะโมยเมืองแหงไปตีดังเก่า โดยเมืองคองนั้นปู่เมอุกพ่อเมืองแหง มาบังคับใช้หื้อปู่จองมองเป็นแก่คุมพวกนักเลง ๓๐ คนไปตี ครั้นปู่จองมองออกจากเมืองแหงไปตามพ่อเมืองแหงบังคับนั้นแล้ว พ่อเมืองแหงมีหนังสือหื้อปู่เติกกับอ้ายตาเอาหนังสือไปส่งหื้อเมืองคองว่าเราได้ยินข่าว "ขโมยคนแอ๋" ลงมาตามเมืองคองนี้ หื้อเมืองคองได้ตระเตรียมไว้กลัวเสียเปรียบแก่ ผู้ร้าย หนังสือตอบส่งข่าวว่าดังนี้ ครั้นหนังสือถึงตะวันแลงนี้ "ครั้นมืดสลุ้ม"<ref>"ครั้นมืดสลุ้ม" หมายถึง เวลาพลบค่ำ</ref> ขะโมยก็เข้าตีเมืองคองแล้วซ้ำเลยลงไปตี "บ้านป้อมแม่เดิมปูนตา"<ref>"บ้านป้อมแม่เดิมปูนตา" ปัจจุบันไม่มีชื่อหมู่บ้านนี้ สันนิษฐานว่าเป็นหมู่บ้านปกากญอป่าข้าวหลาม ซึ่งตั้งอยู่บริเวณห้วยแม่กอกไหลมาบรรจบแม่น้ำแตงใต้เมืองคอง ราว 10 กิโลเมตร </ref> ข้าพเจ้าอ้ายพุด อ้ายคำ อ้ายยี่ รู้เห็นนั้นเสี้ยงคำให้การมีเท่านี้<ref>"เสี้ยงคำให้การ"หมายถึง หมดคำให้การ</ref>
 
ข้าพเจ้า อ้ายพุด อ้ายคำ อ้ายยี่ จึงลงลายมือให้ตุลาการเมืองปายไว้เป็นสำคัญต่อพ่อตังแกน้อยจองใจ ๑ จองลาย ๑ จองคำ ๑ พกากณกอ ๑ จุมมู น้อยลิน คงคำให้การไว้ (ลายนิ้วมือ)อ้ายคำ อ้ายยี่ อ้ายพุด
 
ข้อ ๑ แถม เมื่อคนเมืองแหงมาตีเมืองปายนั้น "ปู่อำนาจจะเล" "เมืองนาย" ก็มีอยู่เมืองแหงนั้นนอนที่เรือนตังแกลาย คนปู่อำนาจมีปู่ตาเสือ ๑ น้อยคำ ๑ ยังลงมาตีเมืองปายอยู่ ครั้นหมู่เมืองแหงแตกป่ายแผวเมืองแหงแล้วสามวันปู่อำนาจจึงยกออกจากเมืองแหง "ปิ๊กเมือ" </ref>"ปิ๊กเมือ"หมายถึง กลับคืน</ref> ข้อ ๑ แถมศักราช ๑๒๕๖ ภอเดือนสี่เงี้ยว(ไทใหญ่)ปู่แสนคนเมืองนายเอาเงิน ๑๕๐๐ แถบมาหาปู่เมอุกหาซื้อช้าง ปู่เมอุกก็ได้ซื้อช้างทางเมืองเชียงใหม่สองตัว ผู้ ๑ แม่ ๑ ซ้ำ "ปี๊กคืน"<ref>ปิ๊กคืน หมายถึง กลับคืน</ref> มาอยู่ที่ปู่เมอุกพ่อเมืองแหงดังเก่า แล้วปู่เมอุกซ้ำบังคับขุนปัน ๑ ปันนียะ ๑ กับคนหนูโมสองคน บ่อรู้จักชื่อที่ส่งถึง "เจ้าฟ้าเมืองนาย" แล้ว "เจ้าฟ้าเมืองนาย"หื้อเงินเขา ๔ คน ๔๐๐ แถบแล้ว "เจ้าฟ้าเมืองนาย"ซ้ำหื้อเงินมาที่ปู่แสนแถมเป็นเงิน ๕๐๐ แถบ ปู่แสนซ้ำปิ้กเข้าที่ปู่เมอุกพ่อเมืองแหงแถม ปู่แสนก็เอาเงินมา "เล่นลวงเสียปักตก"<ref>"เล่นลวงเสียปักตก"หมายถึง เล่นการพนันเสียจนหมดตัว </ref> ปู่แสนนั้นก็มีอยู่ในเมืองแหงรวมคน ๓ คน ปู่แสน ๑ ปู่ยี่ ๑ ปู่แสง ๑ คนสามคนนี้เขาพูดว่า ครั้นบ่อได้คืนเงิน ๕๐๐ แถบ นี้ "บอเมือได้" เช่นได้คืนเงิน ๕๐๐ แถบนี้คืนจึงจะเมือได้เขาพูดว่าอย่างนี้ เวลามาตีเมืองปายนั้นเขาก็มาต่อยเพื่อนอยู่
 
อ้ายพุดแจ้งความให้การแถมเท่านี้.
บรรทัด 89:
ด้วยกิจการบ้านเมืองที่พระยาดำรงเมืองปายก็ได้ "ค้าขายส่อเบากล่าวโทษข้าพเจ้า" ถึงเจ้าเหนือหัว '''"อยู่บ่แล้วบ่หายสักเตื้อ"'''<ref>"บ่แล้วบ่หายสักเตื้อ" มีความหมายว่า ไม่รู้จักจบสิ้น</ref> แลถ้ามีผู้ร้ายคนโจรมาลักคุยที่ตำบลในๆ(ไหนๆ) ก็หาเป็นคนเมืองแหงว่าฉันนี้ ก็ถึงมาอยู่ได้สองปีสามปีมาแล้ว ติดด้วยตัวข้าพเจ้าฤๅก็เป็นข้าเก่าเนานาน แต่เมื่อเช่นพระเจ้ากาวิโลรศ ก็มีพระราชอาจญา ปง(มอบหมาย)ให้ข้าพเจ้า ได้มาตั้งแต่ริบรวมรักษาวรนารัตถประโยชน์ของแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวแต่เมื่อศักราชได้ ๑๒๑๓ ตัว (พ.ศ. ๒๓๙๔)ก็อยู่มา ได้ ๑๕ ปี ก็ได้กินสัจเจ้าอยู่หัว ข้าพเจ้าก็บอได้คิดผิดแบบภายนอก ผิดศอกภายใน ก็บอคดเลี้ยวต่อเจ้าแผ่นดินสังสักวัน
สืบมาถึงองค์อยู่เกล้าฯได้ขึ้นเป็นเจ้าครอบครองอำในกายขันธ์ทั้ง ๕ แห่งข้าพเจ้านั้นแล้ว เจ้าอยู่หัวก็ได้ชุบเลี้ยงโปรดให้ ข้าพเจ้าได้ขึ้นมารักษาราชการหื้อมันกว้างศอกออกวา ว่าฉันนี้ ข้าพเจ้าก็ได้อยู่มาได้ ๑๑ ปี แลสติสัจจาเจ้าอยู่หัวก็มีในห้องในบุญข้าพเจ้าแล้ว แต่ข้าพเจ้าจะมีใจคดเลี้ยวต่อพระเจ้าอยู่หัว แลจะไปเปนโจรขโมยกับบ้านกับเมืองก็หาบอมี
 
การที่ว่าขโมยผู้ร้ายนั้นเปรียบว่า '''“ข้า”'''หากมีทุกบ้าน '''“ข้าหาร”('''ทหาร) มีทุกเมือง แต่ไปที่ใดๆก็ดี "พาหน"เมืองปายก็ป่าวแยงหนังสือลงมาขายหน้าข้าพเจ้า ถึงเจ้าจอมทุกปีทุกเดือนแล้วคิดเปนทัพศึก แลว่าข้าพเจ้าเมืองแหงจะลงไปรบที่เจ้าเมืองปายที่แต้ก็หากเป็นข้าเจ้าเดียวเจ้าหนึ่งในเมืองเชียงใหม่ทั้งมวน(มวล)เหมือนกัน ถ้าว่ามาตีมันป่าย(พ่าย)ทางเมืองปายแต้มันก็สังมีหนังสือ ๓/๗ ถ้าบ่อบอกหื้อข้าพเจ้าได้รู้ควรดีช่วยกันเสาะหา แต่จะเป็นผู้ร้ายในบ้านใดเมืองใด มันไปทางใดก็ล้างภอมาบอกฮื้อข้าพเจ้าได้รู้ว่าเกิดมีในเมืองแหงก็ดี ก็ควรจะได้ปฤกษาช่วยกันตอบก็ดีได้พร้อมกันทั้งสองก่อน ถ้าเพื่อนไปเยียะไปชิงคุยที่ไหน ก็ว่าเป็นโจรขโมยเมืองแหง
 
ถ้าจะมาเขี้ยว(เคี่ยว)น้ำเอาตัวแต่ก็บอได้ปอยแปงหนังสือ มาไหว้ษา อยู่บอขาดวันหนึ่ง พระข้าเจ้าไปค้าในเมืองปายมันก็ "จับยับเอา" แล้วเฆี่ยนตีผูกมัด ว่าเพื่อนเปนขโมย ว่าฉันนี้ โดยพระยาดำรงมากล่าวโทษข้าพเจ้านั้นเจ้าอยู่เกล้าฯก็หาได้มีหนังสืออาจญามาเรียกเอาตัวข้าพเจ้ามาถามไม่แต่เจ้าอยู่เกล้าฯ ก็ฟังคำคืนคำขายพระยาดำรง มาฉ้อ ฉะนี้
 
ข้าพเจ้าทั้งหลายเปนท้าวแก่ก็ที่หวั่นยั่นกลัวเสียแล้ว เหตุคำก็ดี ภอดีไหว้ษาอยู่ก็บ่อได้ไหว้ษาเสียแล้ว แลถึงที่ภออยู่บก ได้กินบ่อได้ "กวาก็บ่อได้" ไปก็บ่อได้ เพราะความมีบ่อได้ไหว้ษา เหตุเจ้าจอมก็บ่อได้ถามเสียแล้ว จึงได้พาเอาลูกน้องพ้องปาย หนีเข้าไปซ่อนตัวอยู่ห้วย อยู่เหมือง อยู่แล้ว พึงดีอยู่พึงดีไปนั้น ก็ขอเจ้าอยู่หัวพอมีบุญได้โปรดข้าพเจ้า จะได้มานมัศการใต้ฝ่าพระบาท ควรประการใดสุดแล้วแต่จะโปรด ''''
บรรทัด 107:
ที่ว่าการข้าหลวงใหญ่เมืองนครเชียงใหม่
วันที่ 7 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ศก 114
ข้าพระพุทธเจ้า พระยาทรงสุรเดช ข้าหลวงรักษาราชการมณฑลลาวเฉียง บอกมายังท่านนายเวรขอได้นำกราบทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทราบฝ่าพระบาท
 
ด้วยข้าพระพุทธเจ้าได้มีบอกกราบทูลมาฉบับหนึ่ง ที่ 69/1048 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม ร.ศ.114 ว่า ด้วยเรื่องแสนธานินทรพิทักษ์ ณ เมืองปาย นั้น ถ้าการหนักหนามาจะได้จัดให้เจ้าอุตรการโกศล ยกหนุนไปช่วยอีกภายหลัง ความแจ้งอยู่ในบอกของข้าพระพุทธเจ้านั้นแล้ว
บรรทัด 145:
 
การเรื่องนี้ข้าพระพุทธเจ้าเห็นด้วยเกล้าฯว่า ที่พระยาทรงสุรเดชได้จัดไปนั้น ก็เป็นการทำตามแบบแผนในธรรมเนียมเมืองลาว แต่ข้าพระพุทธเจ้าไม่ใคร่พอใจในแบบแผนที่ยกทัพกันง่ายๆเช่นนี้ เพราะการก็เพียงเล็กน้อย เป็นแต่เจ้าเมืองปลายแดนวิวาทกับกรมการตามสาเหตุที่มีกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ยกทัพเกรียวกราวออกไปดูพาให้เป็นการใหญ่ไปเปล่าๆ แลผลของการยกทัพลาวเช่นนี้ ถ้าจะเอาประโยชน์ก็ไม่เห็นจะมีอันใด "นอกจากกะเกณฑ์กันเล่นเหนื่อย" ถ้าพวกเงี้ยวพอใจจะต่อสู้จริงทัพลาวก็ไม่แน่ได้จะสู้หรือหนีการยกทัพลาวเคยมีแบบมาในครั้ง"พระยาปราบ"ครั้ง ๑ ยกไปเป็นก่ายเป็นกองถูกเงี้ยวขู่พักเดียวก็เปิดหมด ได้ทหารไทย ๒๔ คน กลับตีทัพเงี้ยวแตกไปนับ ๑๐๐
การในเรื่องเมืองปายนี้ข้าพระพุทธเจ้าประมาณดูเห็นด้วยเกล้าว่า เป็นแต่การวิวาทกัน "ต้องการตุลาการตัดสินผิดแลชอบมากกว่าอย่างอื่น" น่าที่จะเป็นเพราะพวกเงี้ยวเหล่านี้ไม่ใคร่ไว้ใจในยุติธรรมของลาว จึงยังกระด้างกระเดื่อง เห็นด้วยเกล้าว่า ถ้าให้ข้าหลวงรองเมืองนครเชียงใหม่สักคนหนึ่ง กับทหารไทยสัก ๑๐ คน ออกไปไต่สวนตัดสินการเรื่องนี้น่าที่จะเรียบร้อยได้ดีกว่ายกทัพลาวออกไป
 
ถ้าชอบด้วยกระแสพระราชดำริห์ ข้าพระพุทธเจ้าจะได้รับพระราชทานมีตราแนะนำออกไปยังพระยาทรงสุรเดชดังนี้ บางทีเห็นจะทันที่จะแก้ไขได้ แต่ถึงไม่ทันประมาณดูในเรื่องนี้ ก็เห็นด้วยเกล้า ว่า "จะไม่เป็นการใหญ่โตอันใด" ผิดนักก็จะเป็นอย่างขี่ช้างไปไล่ตักกระแตนเท่านั้น แต่ที่เมืองนครเชียงใหม่นี้ ข้าพระพุทธเจ้าเห็นด้วยเกล้าว่า น่าที่จะต้องมีทหารไทยไว้สัก ๕๐ คน เป็นอย่างต่ำ สำหรับการปลายแดนเล็กน้อยเช่นนี้ จะมีประโยชน์แก่ราชการเป็นอันมาก ข้าพระพุทธเจ้าได้แจ้งต่อกระทรวงพระกะลาโหม แลกรมยุทธนาธิการ ขอให้จัดขึ้นในศก ๑๑๔ นี้แล้ว
บรรทัด 157:
'''ที่๙๖/๒๒๖ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
วันที่ ๓ กรกฎาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๔
ทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ
 
ด้วยได้นำลายพระหัตถ์ท่าน ซึ่งตอบรับจดหมายข้าพเจ้าเรื่องแสนธานินทร์พิทักษ์มาปล้นเมืองปาย แลชี้แจงการเรื่องนี้ ว่าต้องรอฟังรายงานนายน้อยบัววงษ์ ดังแจ้งในลายพระหัตถ์ ที่ ๕๑๔/๑๐๘๑๘ ลงวันที่ ๓๐ เดือนก่อนนั้น
ได้นำขึ้นทูลเกล้าถวายทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว โปรดเกล้าฯดำรัสว่า
 
“'''ถ้าพระยาทรงสุรเดชเข้าใจว่าเราอาจถือว่าเปนผู้ร้ายข้ามแดนได้แล้ว เมื่อสืบสวนได้ชัดว่าอยู่ในแดนเขา ก็จะได้ว่าตามกันไม่เปนอันทำให้เสียเวลา”
บรรทัด 169:
 
 
''* เป็นเมืองชายแดนที่มีความสำคัญโดยเฉพาะพื้นที่แอ่งเวียงแหงมีถึง 2 เมือง ในปี พ.ศ. 2440 '''ปิแอร์ โอร์ต''' ผู้ช่วยด้านกฎหมายของเจ้าพระยาอภัยราชา(โร จักแมงส์)ในสมเด็จพระปิยมหาราช มาตรวจราชการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน ณ นครเชียงใหม่ บันทึกว่า
 
นครเชียงใหม่ มี 10 หัวเมืองในสังกัด คือ 1 '''เมืองแหงเหนือ''' 2 '''เมืองแหงใต้''' 3 เมืองแม่ฮ่องสอน 4 เมืองเชียงราย 5 เมืองปาย 6 เมืองยวม(แม่สะเรียง) 7 เมืองขุนยวม 8 เมืองเชียงแสน 9 เมืองฝาง 10 เมืองงาย(เชียงดาว)<ref>พิษณุ จันทร์วิทัน (2546) ล้านนาไทยในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง โรงพิมพ์เดือนตุลา หน้า 92-93</ref>
บรรทัด 175:
* ลดฐานะจากเมืองแหง เป็น ตำบลเมืองแหง ขึ้นกับอำเภอเชียงดาว ประมาณ * พ.ศ. 2457
 
* พ่อเฒ่าจ่าน หมู่บ้านซาววา(ยี่สิบวา) '''เมืองปั่น''' รัฐฉาน พม่า อพยพมาตั้งรกรากที่เมืองแหง ใน พ.ศ. 2477 ต่อมาทางการแต่งตั้งให้เป็นแค้วน ภาษาถิ่นออกเสียงเป็น แคว่น หรือกำนัน ตรงกับภาษาไทใหญ่ว่า "เหง"จึงเรียกว่า "ปู่เหงซาววา"หรือ กำนันซาววา และสิ้นอายุขัยในปี พ.ศ. 2493 อายุ 94 ปี<ref>เอกสารประกอบการสัมมนา"ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองแหง และข้อมูลใหม่เกี่ยวกับสถานที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช" 29 กรกฎาคม 2546 ณ โรงเรียนเวียงแหงวิทยาคม โดยเหรียญชัย อ้วนคำ เรื่อง "ประวัติความเป็นมาของปู่เหงซาววา" </ref>
 
* เป็นเส้นทางเดินทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 <ref>กองทัพญี่ปุ่นมาตั้งค่ายและขุดสนามเพลาะล้อมรอบค่าย ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้านเวียงแหง และมาซื้อเสบียงอาหารในตัวเวียงแหง โดยนายเสาร์ แสนเมืองมูล ขณะยังเป็นเด็กได้ห้อยแขนทหารญี่ปุ่นที่ชอบเล่นกับเด็กๆเป็นที่สนุกสนาน : สัมภาษณ์นายเสาร์ แสนเมืองมูล หมู่ที่ 4 ต.เมืองแหง อ.เวียงแหง(อายุ 72 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549),รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ : เชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ</ref>
 
* เป็นเป้าหมายของฝ่ายสัมพันธมิตรโดยส่งฝูงบินทิ้งระเบิดเพื่อตัดเส้นทางยุทธศาสตร์สายเชียงใหม่-แม่แตง-เวียงแหง-พม่า สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หน่วยทหารช่างของไทยทำการก่อสร้างเส้นทางยุทธศาสตร์สาย เชียงใหม่ เวียงแหง พม่า จาก อ.แม่แตง ทวนสายน้ำแม่แตงจนการก่อสร้างคืบหน้ามาถึงหมู่บ้านสบก๋าย ต.กื้ดช้าง อ.แม่แตง โดยได้ตั้งแค้มป์ที่พักบริเวณเนินเขา(ปัจจุบันเป็นที่ตั้งที่ทำการหน่วยป่าไม้) ขณะนั้นมีเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรจำนวน 2 ลำ บินต่ำลัดเลาะทวนแม่น้ำแตง เสียงดังกึกก้องหุบเขา นักบินพบที่ตั้งของทหารช่าง จึงบินผ่านเลยไป แล้วย้อนกลับมาทิ้งระเบิดเพื่อทำลายแคมป์ที่พัก แต่พลาดเป้าไปประมาณ 80 เมตร ปัจจุบันยังคงปรากฏหลุมระเบิดรัศมีกว้างราว 10 เมตร ลึกประมาณ 2 เมตร : สัมภาษณ์นายดวง กาวิชัย (อายุ 88 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549) หมู่ 1 ต.กื้ดช้าง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ , รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณเชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ</ref>
 
* เป็นเส้นทางบินหนีกลับฐานบินสัมพันธมิตรในประเทศพม่า หลังจากเครื่องบินถูกยิงในสมรภูมิกลางเวหาลำปาง และเครื่องบินตกที่ อ.เวียงแหง ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>เป็นเครื่องบินขับไล่สังกัดกองทัพอากาศประเทศสหรัฐอเมริกา ประจำฐานทัพในพม่า รุ่น P 38 Lightning ชนิด 2 ใบพัด 2 เครื่องยนต์ มีภารกิจทำลายตัดเส้นทางยุทธศาสตร์ไม่ให้กองทัพญี่ปุ่นส่งกำลังไปโจมตีฝ่ายสัมพันธมิตรในพม่า และเครื่องบินนี้ได้ทำการต่อสู้กลางเวหาท้องฟ้า จ.ลำปาง โดยเครื่องถูกยิง นักบินจึงหันหัวบินหนีผ่านเชียงใหม่ มาถึงบ้านห้วยไคร้ อ.เวียงแหง เครื่องบินพุ่งชนต้นไม้ ไฟลุกท่วม ทหารญี่ปุ่นซึ่งตั้งค่ายอยู่ใกล้ๆ พากันไปยังจุดที่เครื่องบินตกพบว่านักบินเสียชีวิตแล้ว จึงนำศพไปฝังใกล้ต้นไม้ใหญ่ใกล้กับจุดที่เครื่องบินตก : สัมภาษณ์นายหน่อ คำอ้าย (อายุ 72 ปี เมื่อ พ.ศ. 2549) หมู่บ้านห้วยไคร้ อ.เวียงแหง,สัมภาษณ์ ดร.อนุชาติ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผู้ประสานกองทัพอากาศดำเนินการสืบค้นที่มาของเครื่องบินขับไล่นี้โดยกองทัพอากาศประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมาร่วมดำเนินการสืบทราบชนิดของเครื่องบิน สังกัด และชื่อนักบิน ,ชมรมนักเขียนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ,2548 พบกันที่เวียงแหง โรงพิมพ์กองผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย,</ref>
 
*เป็นเส้นทางการค้าต้อนฝูงวัว ฝูงควาย ม้า ลา เดินเท้าจากเมืองปั่น(Pan)<ref>เมืองปั่น(Pan-หรือเมืองพาน ) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้าม อ.เวียงแหง เป็นระยะทางประมาณ 100 กม. เคยเป็นอำเภอหนึ่งของประเทศไทย ในระหว่าง วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ถึงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นเวลา 2 ปีเศษ ตามราชกิจจานุเบกษา ประกาศว่า "...ฉะนั้น ..."เมืองพาน" จึงเปนอันรวมเข้าในราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม พุทธสักราช ๒๔๘๖ เปนต้นไป.."</ref> พม่า เข้ามาขายประเทศไทย ณ ช่องทางด่านหลักแต่ง อ.เวียงแหง ประมาณ พ.ศ. 2510-2545 <ref> รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณเชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ,สัมภาษณ์นายเต็งหยุ้น ผายนาง กำนันตำบลเปียงหลวง เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2549 </ref>
 
* ยกฐานะเป็น กิ่งอำเภอเวียงแหง เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2524<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 ตอนที่ 68 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2524</ref>
 
* ป้องปรามบุคคลที่เป็นภัยต่อความมั่นคงตามแนวตะเข็บชายแดน <ref>ระหว่าง พ.ศ. 2526-2528 สมัยพลเอกอาทิตย์ กำลังเอก ผบ.ทบ. </ref>
 
* สำรวจพบแร่ลิกไนต์ กว่า 139 ล้านตัน มูลค่ากว่า 50,000 ล้านบาท เมื่อ พ.ศ. 2530<ref>http://www.prachatai.com/journal/2004/11/1026</ref>
 
* พบพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย(สิงห์ 1 ) ณ ลำห้วยหก ปี พ.ศ. 2534 <ref>ฤดูฝน ปี 2534 น้ำป่าไหลหลากเซาะตลิ่งห้วยหกพังทะลาย พบ พระพุทธรูป "สิงห์ 1" จารึกรอบฐาน ว่า " มหารเถรจันทรังสี วัดหมื่นคต ให้หล่อไว้เป็นที่เคารพบูชา พ.ศ. 1994 หรือ 2054 หรือ 2114 : นายอุต ท้าวคำมา ผู้ใหญ่บ้านห้วยหก อ.เวียงแหง ,รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ : เชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย (พม่า) 2549 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ'dnh,nv8vg,n</ref>
 
* เป็นเส้นทางนำเข้าไม้ซุงสักพม่า จากแม่น้ำสาละวิน(สบแม่น้ำจ้อด-Kyawt) ทวนสายน้ำจ้อด ผ่านเมืองทา-Hta เข้าสู่ประเทศไทย ณ ช่องทางด่านหลักแต่ง(BP 3 ) อฺ.เวียงแหง ถึงเชียงใหม่ โดยบริษัทไทยเทควูด จำกัด ประมาณ พ.ศ. 2535-2537<ref> ศึกษาธิการอำเภอเวียงแหง ปี พ.ศ. 2535</ref>
 
* ยกฐานะเป็น อำเภอเวียงแหง เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2536 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110 ตอน 179 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2536</ref>
 
* จังหวัดเชียงใหม่ ประกาศเปิดจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อ.เวียงแหง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2541<ref>http://www.chiangmaiimm.com</ref>
 
*สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรบ้านแปกแซม หมู่ที่ 1 ต.เปียงหลวง อ.เวียงแหง เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2543<ref> ส่วนประสานงานโครงการพระราชดำริ, http://www.dnp.go.th</ref>
 
* เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ประเทศเพื่อนบ้าน(BP 3)ด้านตรงข้าม อ.เวียงแหง ปี พ.ศ. 2545<ref>นิตยสาร พลเมืองเหนือ ฉบับที่ 31 วันที่ 27 พ.ค.-2 มิ.ย. 2545</ref>
บรรทัด 205:
* จังหวัดเชียงใหม่ ประกาศปิดจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อ.เวียงแหง เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2545
 
* งานวิจัย กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยใหญ่ชายแดนไทย-พม่า กรณีศึกษาเรื่อง หมู่บ้านเปียงหลวง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามีการสร้างอัตลักษณ์ 3 บุคคล 1 เหตุการณ์ <ref>วารสารคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับที่ 1/2545 หน้า 219-245 โดยวันดี สันติวุฒิเมธี </ref> พ.ศ. 2545
 
* หม่อมเจ้า.ชาตรีเฉลิม ยุคล สำรวจเมืองโบราณ "เมืองแหง อ.เวียงแหง" ปี พ.ศ. 2547<ref>วันที่ 19 มกราคม 2547 สัมภาษณ์ ว่าที่ ร.ต.อดิศวร นันทชัยพันธ์ นายอำเภอเวียงแหง คนที่ 5</ref>
บรรทัด 211:
* อัญเชิญพระรูปหล่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมาประทับข่วงอนุสรณ์สถานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2547<ref>พิธีอัญเชิญพระรูปหล่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จากวัดใหญ่ชัยมงคล พระนครศรีอยุธยา, มายังกองทัพภาคที่ 3 พิษณุโลก , กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 7 ค่ายพิชิตปรีชากร เชียงใหม่ และ อ.เวียงแหง : สัมภาษณ์ ว่าที่ ร.ต.อดิศวร นันทชัยพันธ์ นายอำเภอเวียงแหง คนที่ 5</ref>
 
*สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ : เชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า) พ.ศ. 2549 <ref>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ,2549 : รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ : เชียงใหม่ เมืองกื้ด เมืองคอง เมืองแหง เมืองนาย(พม่า)อำนวยการโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ , ผู้วิจัย ชัยยง ไชยศรี </ref>
 
* กรมศิลปากร ขุดพบพระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย สมัยอยุธยา ขนาดหน้าตัก 22 เซนติเมตร สูง 39 เซนติเมตร น้ำหนัก 2542 กรัม ศิลปะอู่ทอง รุ่น 2 พระพักตร์เหลี่ยมแป้น พระนลาฏแคบ พระนาสิกโด่งเป็นสัน พระศกเล็ก มีไรพระศกเป็นแถบเล็ก มีพระรัศมีเป็นเปลวสูงแหลม ชายสังฆาฏิเป็นรูปเขี้ยวตะขาบเรียบ นั่งขัดสมาธิราบ ทำปางมารวิชัย ศิลปะในช่วงพุทธศตวรรษ 20-21 ณ วัดพระธาตุแสนไห พ.ศ. 2555 <ref>บริษัทงานโบราณจำกัด ,2555 โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองประวัติศาสตร์เชียงใหม่ : รายงานการขุดค้น-ขุดแต่งทางโบราณคดี วัดพระธาตุแสนไห ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่</ref><ref>https://drive.google.com/file/d/0B1UTCljC-mnxN3FBYU9hQlRBT2M/view?usp=sharing</ref>
บรรทัด 222:
 
*เวียงแหง กับ "ด่านหลักแต่ง" พ.ศ. 2558<ref>http://www.hedlomnews.com/?p=9616</ref>
*มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รายงานผลการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพศักยภาพ เชื่อมโยงด่านการค้าชายแดนและเตรียมความพร้อมจุดผ่อนปรนที่มีศักยภาพพัฒนาเป็นด่านถาวร ภายใต้โครงการเปิดตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน งบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประจำปีงบปะมาณ พ.ศ. 2558<ref>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2558 รายงานผลการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพศักยภาพ เชื่อมโยงด่านการค้าชายแดนและเตรียมความพร้อมจุดผ่อนปรนที่มีศักยภาพพัฒนาเป็นด่านถาวร ภายใต้โครงการเปิดตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน งบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประจำปีงบปะมาณ พ.ศ. 2558 </ref>
 
*กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง) จัดกิจกรรมสำรวจเส้นทางการค้า การท่องเที่ยว ตามเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เชื่อมไปยังจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาส่งเสริมการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประจำปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 10-12 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่,พื้นที่เส้นทางโบราณสายน้ำแม่แตง อ.แม่แตง อ.เชียงดาว และ อ.เวียงแหง <ref>เอกสารประกอบการบรรยาย สำรวจเส้นทางการค้า การท่องเที่ยว ตามเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เชื่อมไปยังจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาส่งเสริมการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประจำปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ </ref>
 
* อำเภอเวียงแหง จะเป็นประตูเส้นทางการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว เชียงใหม่ -พม่า-จีน<ref>เอกสารประกอบการบรรยาย สำรวจเส้นทางการค้า การท่องเที่ยว ตามเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เชื่อมไปยังจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาส่งเสริมการค้าชายแดนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประจำปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว อ.เมือง เชียงใหม่ เรื่อง เส้นทางการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยว เชียงใหม่-เมียนมา-รุ่ยลี่(จีนตอนใต้)</ref> ในทศวรรษหน้า<ref>https://drive.google.com/file/d/0B1UTCljC-mnxOS1NS3Q3cjgwTkk/view?usp=sharing</ref><ref>https://drive.google.com/file/d/0B1UTCljC-mnxbjN0THUtTU9WeG8/view?usp=sharing</ref><ref>https://drive.google.com/file/d/1zKK0s63VZdMFMFz189x4NGvN-vl_sLfKmQ/view?usp=sharing</ref><ref>https://drive.google.com/file/d/0B1UTCljC-mnxU1E3X0xQVE9oTGM/view?usp=sharing</ref><ref>https://www.youtube.com/watch?v=ZRp6SFRps9M&t=155s</ref><ref>https://www.youtube.com/watch?v=unNjvXDaeLI&t=57s</ref><ref>https://www.youtube.com/watch?v=asYyp15LSnM</ref><ref>https://www.youtube.com/watch?v=cR8UOYbXOA8</ref>
บรรทัด 247:
|| 3. || แสนไห || Saen Hai || 5 || 8,450 || 8,450 ||<small>(ทต. แสนไห)</small>
|-
! colspan="3" | รวม || 23 || 44,563 || colspan="2" | 8,450 (เทศบาล)</br />36,113 (อบต.)
|}