ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
Farang Rak Tham (คุย | ส่วนร่วม)
ลินก์ไปที่หน้าเดียวกัน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 40:
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2556-2557}}
 
'''แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ''' (ชื่อย่อ: นปช.; {{lang-en|United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD}}) มีชื่อเดิมว่า '''แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ'''<ref>ประชาไทออนไลน์, [http://prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=9335&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai นปก. เปลี่ยนชื่อเป็น นปช. ยกระดับการต่อสู้ คนวันเสาร์ฯ เตรียมถอดนายกฯ], 24 สิงหาคม 2550, เรียกดู 24 สิงหาคม 2550</ref> (ชื่อย่อ: นปก.; {{lang-en|Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD}}<ref>ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล, ประชาไทออนไลน์, [http://www.prachatai.com/english/news.php?id=125 Double standards against protesters], Prachatai English, 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550, ตีพิมพ์ครั้งแรกในนสพ. Bangkok Post</ref>) เป็น[[การเคลื่อนไหวทางการเมือง|กลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง]]ในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับนาย[[ทักษิณ ชินวัตร]] [[รายนามนายกรัฐมนตรีไทย|อดีตนายกรัฐมนตรี]]<ref>The Economist, [http://www.economist.com/world/asia/displaystory.cfm?story_id=15819472 Smiling for the cameras], 31 March 2010</ref> และเป็นองค์กรหลักของ[['''กลุ่มคนเสื้อแดง]]''' โดยมีสัญลักษณ์หลักคือ [[สีแดง]] และเสื้อสีแดง (ซึ่งในช่วงเริ่มการต่อสู้ใช้[[สีเหลือง]] ต่อมาตั้งแต่ช่วงรณรงค์ให้ประชาชนลงประชามติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก็เริ่มใช้สีแดง) และมีการใช้[[เท้าตบ]]<ref>รัฐสภาไทย, [http://www.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=164989 ม็อบเสื้อแดงชู"ตีนตบ"สู้"มือตบ" พันธมิตร]</ref><ref>ไทยรัฐออนไลน์, [http://www.thairath.co.th/online.php?section=newsthairathonline&content=107469 นปช.เชียงใหม่เร่งทำตีนตบ]</ref> และหัวใจตบ เพื่อล้อเลียน[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
 
นปก.ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2550]] โดยรวมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง เพื่อต่อต้าน[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร พ.ศ. 2549]] และขับไล่[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]] กับ พล.อ. [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] ออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยุติการชุมนุมเมื่อ [[26 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากที่[[พรรคพลังประชาชน]]ได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร โดยในภายหลังได้กลับมารวมตัวกันอีก เพื่อต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]] จนเกิดเหตุการณ์ปะทะกัน โดยมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ