ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ชนะสิบทิศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
บรรทัด 1:
[[ภาพ:บุเรงนองลั่นกลองรบ_ (หนังสือ).jpg|thumb|250px|หน้าปกนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ ฉบับตีพิมพ์ปี [[พ.ศ. 2496]]]]
'''ผู้ชนะสิบทิศ''' เป็น[[นวนิยาย]]อิง[[ประวัติศาสตร์]] งานประพันธ์ชิ้นเอกของ [[ยาขอบ]] กล่าวถึงเรื่องราวของนักรบผู้หนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็น "ผู้ชนะสิบทิศ" นั่นคือ พระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุงหงสาวดี นวนิยายได้รับความนิยมมากและดัดแปลงเป็น[[ละครเวที]] [[ละครโทรทัศน์]] และ [[ภาพยนตร์]] หลายครั้ง ตลอดจน [[ละครวิทยุ]] รวมถึงมีการประพันธ์เพลง [[ผู้ชนะสิบทิศ (เพลง)|ผู้ชนะสิบทิศ]] ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายด้วย
== ประวัติ ==
ผู้ชนะสิบทิศ เป็นนิยายที่[[ยาขอบ]] หรือ[[โชติ แพร่พันธุ์]] พระนิพนธ์ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] ในครั้งแรกใช้ชื่อว่า "ยอดขุนพล" เริ่มเขียนใน พ.ศ. 2474 จบลงใน พ.ศ. 2475 ในหนังสือพิมพ์ "สุริยา" และเริ่มเขียน "ผู้ชนะสิบทิศ" ในหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ" เมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]] จบภาคหนึ่งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ในตอน "ความรักครั้งแรก" รวมเล่มพิมพ์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 ฉบับพิมพ์รวมเล่มใช้ชื่อ "ลูกร่วมนม" สร้างชื่อเสียงให้ยาขอบได้แจ้งเกิด จนกลายเป็นกระแสไปทั่วทุกเพศทุกวัย ว่ากันว่าแม้แต่บรรพชิตก็ยังอ่านอย่างไม่กลัวอาบัติ<ref>ตอนที่ 3 บุเรงนองกะยอดินนรธา : ขุนพลผู้ทรงเสน่ห์ ในหนังสือบุเรงนองกะยอดินนรธา กษัตริย์พม่าในโลกทัศน์ไทย โดย ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] ISBN 974-323-512-4 </ref> เขียนรวมทั้งหมด 3 ภาค เมื่อ พ.ศ. 2482 แต่ยังไม่จบ เนื่องจากขาดข้อมูลบางอย่างที่จะต้องใช้ประกอบการเขียน ในเนื้อเรื่องกล่าวถึง[[ราชวงศ์ตองอู]]ตอนต้น เริ่มตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระเจ้าเมงจีโย]] ไปจนถึง[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]] หรือ มังตราราชบุตร โดยคำว่าผู้ชนะสิบทิศนั้น มาจากคำที่[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ทรงกล่าวถึง พระเจ้าบุเรงนองว่าเป็น '''The Conqueror of Ten Directions''' แต่สำหรับชื่อนิยาย จากหนังสือประวัติยาขอบ อ้างอิงว่า [[มาลัย ชูพินิจ]] เป็นผู้ตั้งให้
 
ผู้ชนะสิบทิศได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งยุคของ[[จอมพลแปลก พิบูลสงคราม]]เป็นช่วงที่รัฐบาลไทยมีนโยบายสร้าง[[สหรัฐไทยเดิม]] โดยการส่งทหารไทยเข้ารุกรานดินแดนพม่าของอังกฤษร่วมกับญี่ปุ่น มีการปลุกระดมชาตินิยม ปี [[พ.ศ. 2485]] ทางรัฐบาลได้มีการเข้าควบคุมสื่อสิ่งพิมพ์ทุกอย่าง นิยายผู้ชนะสิบทิศได้ถูกพิจารณาว่ามีเนื้อหาที่ยกย่องศัตรูของชาติ มีการใช้เรื่องราวที่ในนิยายไม่ได้กล่าวไว้ เช่นเรื่อง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง]]มาใช้การปลุกระดม[[ชาตินิยม]] ทำให้นิยายผู้ชนะสิบทิศในสมัยนั้นถูกสั่งห้ามพิมพ์จำหน่ายหรือมีไว้ครอบครองอย่างเด็ดขาด
บรรทัด 24:
| director = [[เนรมิต]]
| producer = เทียรร์ กรรณสูต
| writer = '''บทประพันธ์ :''' </br /> [[ยาขอบ]] <br>'''บทภาพยนตร์ :'''<br>พงศ์ อำมาตย์<br>อนุมาศ บุนนาค<br>เจน จำรัสศิลป์
| narrator =
| starring =
บรรทัด 101:
ร่วมด้วย [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]], [[มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา]], [[สมควร กระจ่างศาสตร์]], [[สาหัส บุญหลง]], [[ถนอม อัครเศรณี]], [[ชาลี อินทรวิจิตร]], [[เชาว์ แคล่วคล่อง]], [[สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม]], [[เมืองเริง ปัทมินทร์]], [[สิงห์ มิลินทราศัย]] <ref>[http://www.all-magazine.com/ColumnDetail/allColumDetail/tabid/106/articleType/ArticleView/articleId/3106/--.aspx ตำนานมายา : ‘ผู้ชนะสิบทิศ’ อมตะนิยายไทยบนแผ่นฟิล์ม]</ref>
 
ในการฉายเป็นภาพยนตร์นั้น มีเพลงประกอบที่เป็นที่รู้จักและยังติดอยู่ในความทรงจำตราบจนปัจจุบัน 2 เพลง คือ "บุเรงนองลั่นกลองรบ" ขับร้องโดย [[สุเทพ วงศ์กำแหง]] และ "[[ผู้ชนะสิบทิศ (เพลง)|ผู้ชนะสิบทิศ]]" ขับร้องโดย [[ชรินทร์ นันทนาคร]]
 
เพลงบุเรงนองลั่นกลองรบนั้นทำดนตรีใหม่ให้เป็นดนตรีร่วมสมัยมากขึ้น แต่ยังคงเนื้อร้องเดิมอยู่ โดย [[กษาปณ์ จำปาดิบ]] ในปี [[พ.ศ. 2538]] และ[[ยืนยง โอภากุล]] ในปี [[พ.ศ. 2549]]<ref>[http://www.youtube.com/watch?v=pj7x5uR45gA ผู้ชนะสิบทิศ - แอ๊ด คาราบาว จาก[[youtube]]]</ref>