ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัคร สุนทรเวช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<ref> using AWB
บรรทัด 7:
| term_start = 29 มกราคม พ.ศ. 2551
| term_end = 9 กันยายน พ.ศ. 2551<br>({{อายุปีและวัน|2551|01|29|2551|09|09}})
| viceprimeminister = [[สมชาย วงศ์สวัสดิ์]]</br />[[มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ]]</br />[[สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี]]</br />[[สหัส บัณฑิตกุล]]</br />[[สนั่น ขจรประศาสน์]]</br />[[สุวิทย์ คุณกิตติ]]</br />[[โกวิท วัฒนะ]]</br />[[มั่น พัธโนทัย]]
| lieutenant = [[สมชาย วงศ์สวัสดิ์]]
| predecessor = [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]]
บรรทัด 71:
# [[สุมิตร สุนทรเวช]] - นักการเมือง หัวหน้า[[พรรคประชากรไทย]]
 
สมัคร สมรสกับ คุณหญิง[[สุรัตน์ สุนทรเวช]] (สกุลเดิม: นาคน้อย) มีบุตรสาวฝาแฝดคือ กาญจนากร ไชยสาส์น และกานดาภา มุ่งถิ่น และเนื่องจากคุณหญิงสุรัตน์เป็นที่ปรึกษาด้านการเงินของ[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]]ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ มาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 สถานะการเงินจึงมั่นคงพอที่จะดูแลครอบครัวได้ สมัครจึงมิได้ทำงานประจำใด ๆ โดยทำงานการเมืองเพียงอย่างเดียว มาตั้งแต่ พ.ศ. 2516 อย่างไรก็ตา นายสมัครยังรับเป็นผู้จัดการมรดกตระกูลธรรมวัฒนะ ตามคำสั่งเสียของนางสุวพีร์ ธรรมวัฒนะ<reref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000073924 “สนธิ” แฉ “หมัก” ยังรับจัดการมรดก “ธรรมวัฒนะ” - ตั้งลูกสาวรับเงินแทน]</ref>
 
=== การถึงแก่อนิจกรรมและพิธีศพ ===
บรรทัด 80:
ต่อมา เมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลา 16.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ พร้อมด้วย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ]] ไปในการพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ [[วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร]] ซึ่งมีบุคคลสำคัญของประเทศ เดินทางมาร่วมงานเป็นจำนวนมาก<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1289790743 พิธีพระราชทานเพลิงศพ "สมัคร สุนทรเวช"] [[ข่าว]]จาก[[มติชน|มติชนออนไลน์]]</ref>
 
จากนั้น เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 คุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช ภริยาของสมัคร พร้อมด้วยบุตรสาว บุตรเขย และญาติสนิทมิตรสหายจำนวนกว่า 300 คน เดินทางไปยังท่าเทียบเรือแหลมเทียน ฐานทัพเรือสัตหีบ เพื่อโดยสารเรือหลวงกระบุรีไปประกอบพิธีลอยอังคารอัฐิของสมัคร ณ บริเวณอ่าวสัตหีบ [[อำเภอสัตหีบ]] [[จังหวัดชลบุรี]] ในการนี้ พลเรือโท ฆนัท ทองพูล ผู้บัญชาการทัพเรือภาคที่ 1 เป็นผู้แทนกองทัพเรือต้อนรับพร้อมทั้งอำนวยการประกอบพิธี<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1289894595 กองทัพเรือ จัดเรือหลวงกระบุรี ลอยอังคารอัฐิ "สมัคร สุนทรเวช"] ข่าวจาก [http://www.matichon.co.th มติชนออนไลน์]</ref>
 
== ประวัติการศึกษา ==
บรรทัด 142:
 
== การเลือกตั้งวุฒิสภา 2549 ==
หลังพ้นตำแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อครบวาระ 4 ปี สมัครตัดสินใจไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมัยที่ 2 แต่เบนเข็มมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น สมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549
 
ผลการนับคะแนน สมัคร สุนทรเวช ได้รับเลือกเป็นสมาชิก[[วุฒิสภา]] ด้วยคะแนนเสียง เป็นอันดับสองของประเทศ รองจาก [[นิติภูมิ นวรัตน์|ร.ต.อ.นิติภูมิ นวรัตน์]] ที่ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับที่ 1 แต่ ร.ต.อ.นิติภูมิ ยังไม่ทันได้รับการรับรองตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา จาก [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] เนื่องจากมีผู้ร้องเรียน เรื่องการไปขึ้นเวทีปราศัยของ [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ที่อาจถือได้ว่าเป็นการ "หาเสียง" และขัดต่อกฎหมายเลือกตั้ง ก่อนที่จะมีการชี้ขาดเรื่องดังกล่าว การเลือกตั้งวุฒิสภา พ.ศ. 2549 ก็ได้ถูกยกเลิก เนื่องจากเหตุการณ์รัฐประหาร [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ทำให้สมัครต้องพ้นจากตำแหน่ง โดยไม่มีโอกาสได้ปฏิบัติหน้าที่ใด ๆ ในฐานะสมาชิกวุฒิสภา
บรรทัด 153:
{{ดูเพิ่มที่|การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย มกราคม พ.ศ. 2551|คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 ของไทย}}
 
เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2551 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบ ให้สมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีในวันเดียวกัน<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/023/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี (สมัคร สุนทรเวช)] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษที่ 23ง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551</ref> มี[[ยงยุทธ ติยะไพรัช]] ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
 
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ สมัคร ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] อีก 1 ตำแหน่ง ซึ่งเป็นพลเรือนคนที่ 3 ที่ดำรงตำแหน่งนี้ แต่ยังถูกกล่าวหาจากกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ถึงการดำรงตำแหน่งของสมัคร สุนทรเวช นี้ว่าเป็นนอมินี (ตัวแทน) ของ พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]] อดีตนายกรัฐมนตรีที่ถูกศาลตัดสินลงโทษจำคุกในข้อหาลงนามชื่อยินยอมให้ภรรยาซื้อที่ดินตามกฎหมาย
บรรทัด 198:
|ISBN=974-323-889-1
}}
</ref> จิรายุได้ปฏิเสธและระบุว่าข้อกล่าวหาของสมัครเป็นเท็จและตนไม่เคยมีบัญชีธนาคารในสหรัฐอเมริกา
 
ต่อมา จากการตรวจสอบโดยคณะกรรมการวิสามัญตรวจสอบของสภาผู้แทนราษฎร ผ่าน[[สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย]] พบว่า คำแถลงที่สมัครนำมาแสดงนั้นเป็นของปลอม และจิรายุไม่เคยมีบัญชีเงินฝากในธนาคารนั้น อย่างไรก็ตาม ไม่มีการดำเนินการทางกฎหมายใด ๆ กับสมัคร เนื่องจากมีกฎหมายให้เอกสิทธิ์คุ้มครองสมาชิกรัฐสภาในระหว่างการอภิปรายไม่ไว้วางใจ<ref>[http://news.sanook.com/scoop/scoop_198765.php คอลัมน์ เรียงคนมาเป็นข่าว] สำเนาจาก มติชน 25 ตุลาคม 2550</ref> ต่อมา สมัครได้ยอมรับว่า ได้นำเอกสารเท็จมาแสดงในการอภิปรายในครั้งนั้นจริง<ref>[http://webboard.mthai.com/16/2008-06-25/401288.html วิวาทะ ''สมัคร-ปชป.'' ซัดกันนัว] สำเนาจาก คมชัดลึก 25 มิถุนายน 2551</ref>
บรรทัด 229:
ต่อมาในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 “แม่ลูกจันทร์” แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ยืนยันว่าภาพดังกล่าวถ่ายไว้ก่อนเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ถึง 4 ปี โดยเป็นภาพถ่ายเมื่อ เมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ขณะเกิดเหตุการณ์ ผู้ก่อการร้ายปาเลสไตน์ [[กลุ่มแบล็กเซปเทมเบอร์]] บุกยึด สถานเอกอัครราชทูตอิสราเอล ถนนชิดลม และจับเจ้าหน้าที่สถานทูตเป็นตัวประกัน ยื่นเงื่อนไขให้รัฐบาลอิสราเอลปล่อยโจรปาเลสไตน์ที่ถูกจับกุม ภายใน 12 ชั่วโมง ขณะนั้น จอมพล [[ถนอม กิตติขจร]] เป็น นายกรัฐมนตรี และ จอมพล [[ประภาส จารุเสถียร]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยที่ สมัคร สุนทรเวช ขณะนั้นเป็นเจ้าหน้าที่สถานทูตอิสราเอล ทำหน้าที่ประสานงานในเหตุการณ์ และ "แม่ลูกจันทร์" เป็นนักข่าวการเมืองที่อยู่ในเหตุการณ์ รูปดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519<ref>http://www.thairath.co.th/news.php?section=hotnews03&content=80109</ref>
 
ประเวทย์ บูรณะกิจ อดีตสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กล่าวถึงสมัคร สุนทรเวช โดยระบุว่า ขณะที่สมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<ref>http://www.tja.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=3785%3A2015-06-24-09-16-02&catid=33%3Amyth-news-people&Itemid=15</ref> สมัคร สุนทรเวช จะเป็นผู้พิจารณาว่า จะอนุญาตให้เปิดหนังสือพิมพ์หรือไม่ สมัคร สุนทรเวช สั่งปิดหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ<ref>http://thaipublica.org/2013/10/former-president-of-tja-criticized-media/</ref> และสมัครเป็นผู้พิจารณาใบอนุญาตเปิดหนังสือพิมพ์ ซึ่งเงื่อนไขคือหนังสือพิมพ์ต้องไม่เสนอข่าวที่เป็นปฏิปักษ์กับรัฐบาล โดยอาศัยอำนาจคำสั่งปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 42
 
สมัคร สุนทรเวช ยัง สั่งให้ ประเวทย์ บูรณะกิจ กับหัวหน้าข่าวอีก 2 คนหลุดจากตำแหน่ง คนหนึ่งคือ พินิจ{{who?}} ย้ายไปอยู่หน้าข่าวเด็ก กับวิรัติ สิริชุมแสง คนนี้ยื่นใบลาออกเอง ผมถูกสั่งห้ามทำข่าวหน้าหนึ่งให้ตั้งคนอื่นมาแทน เพื่อจะได้นำเสนอข่าวตามที่เขาต้องการ
บรรทัด 258:
* พ.ศ. 2524 -[[ไฟล์:Order of the White Elephant - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[ประถมาภรณ์ช้างเผือก]] (ป.ช.)
* พ.ศ. 2526 -[[ไฟล์:Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[มหาประมาภรณ์ช้างเผือก]] (ม.ป.ช.)
{{ท.จ.|2527}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2527/D/067/7.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 101 ตอนที่ 67 วันที่ 24 พฤษภาคม 2527</ref>
* พ.ศ. 2527 -[[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[มหาวชิรมงกุฏ]] (ม.ว.ม.)
* พ.ศ. 2539 -[[ไฟล์:Order of the Direkgunabhorn 1st class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์]] ชั้น[[ปฐมดิเรกคุณาภรณ์]] (ป.ภ.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/B/022V003/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม ๑๑๓, ตอน ๒๒ ข เล่ม ๐๐๓, ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๒ ลำดับที่ ๒</ref>
บรรทัด 343:
| ตำแหน่ง = [[รายนามรองนายกรัฐมนตรีของไทย|รองนายกรัฐมนตรี]] ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 51 ของไทย|ครม. 51]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า =<small>[[บัญญัติ บรรทัดฐาน]]</br />[[อำนวย วีรวรรณ]]</br />[[บุญชู โรจนเสถียร]]</br />[[ศุภชัย พานิชภักดิ์]]</br />พลเอก [[ชวลิต ยงใจยุทธ]]</br />[[สุขวิช รังสิตพล]]</br />พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]]</br />พลเอก [[อาทิตย์ กำลังเอก]]</small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป =<small>[[สุขวิช รังสิตพล]]</br />[[อำนวย วีรวรรณ]]</br />[[กร ทัพพะรังสี]]</br />[[มนตรี พงษ์พานิช]]</br />[[สมัคร สุนทรเวช]]</br />พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]]</br />[[วีรพงษ์ รามางกูร]]</br />[[สุวิทย์ คุณกิตติ]]</small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 – 15 มิถุนายน พ.ศ. 2539</br />3 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
}}
{{สืบตำแหน่ง
บรรทัด 356:
| ตำแหน่ง = [[รายนามรองนายกรัฐมนตรีของไทย|รองนายกรัฐมนตรี]] ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 ของไทย|ครม. 52]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า =<small>พลอากาศเอก [[สมบุญ ระหงษ์]]</br />พลเอก [[ชวลิต ยงใจยุทธ]]</br />พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]]</br />[[บุญพันธ์ แขวัฒนะ]]</br />[[อำนวย วีรวรรณ]]</br />[[หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี]]</br />[[มนตรี พงษ์พานิช]]</small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป =<small>[[ศุภชัย พานิชภักดิ์]]</br />[[ปัญจะ เกสรทอง]]</br />[[สุวิทย์ คุณกิตติ]]</br />[[กร ทัพพะรังสี]]</br />พลตรี [[สนั่น ขจรประศาสน์]]</br />[[ไตรรงค์ สุวรรณคีรี]]</br />[[บัญญัติ บรรทัดฐาน]]</br />พลตำรวจโท [[วิโรจน์ เปาอินทร์]]</br />[[สุทัศน์ เงินหมื่น]]</small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540