ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธรรมกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Farang Rak Tham (คุย | ส่วนร่วม)
จัดหมวดหมู่ +เก็บกวาดข้อมูลที่ไม่มีอ้างอิ่ง
Farang Rak Tham (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับ infobox ให้ดีขึ้น +เนื้อหา +ลบลินก์ที่ซ้ำ
บรรทัด 12:
| principal_buddha =
| important_buddha =
| abbot = พระครูสมบูรณ์ สัมมาบุญโญ (รักษาการโดยนิตินัย)<br />[[พระเผด็จ ทตฺตชีโว]] (รักษาการโดยพฤตินัย)<ref>{{Cite news|url=http://www.bbc.com/news/world-asia-39263793|title=The curious case of a hidden abbot and a besieged temple|last=Head|first=Jonathan|date=2560-03-22|work=[[BBC]]|access-date=6 ต.ค. 2560|language=ภาษาอังกฤษ}}</ref>
| venerate =
| pre_road =
| road_name = คลองหลวง
| sub_district = ตำบลคลองสาม
| district = [[อำเภอคลองหลวง]]
| province = [[ปทุมธานี]]
| zip_code = 12120
| tel_no = 02-831-1000, 02-524-0257 ถึง 63
บรรทัด 26:
| open_time =
| entrance_fee = ไม่มีค่าธรรมเนียม
| shouldnt_miss = การเข้าสักการะมหาวิหาร[[พระมงคลเทพมุนี]]และมหาธรรมกายเจดีย์
| activities = งานบุญทุกวันอาทิตย์ งานบุญวันอาทิตย์ต้นเดือน
| local_tourguide = สำนักงานใหญ่ มีการถ่ายวีดิโอประวัติของวัดทุกวัน
บรรทัด 37:
'''วัดพระธรรมกาย''' เป็นวัดในสังกัด[[มหานิกาย]] ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 ตั้งอยู่ ณ ตำบลคลองสาม [[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]] วัดพระธรรมกายเป็นที่เคลือบแคลงสงสัยของประชาชน และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ในสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง แต่สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งได้ขอขมาในภายหลัง อย่างไรก็ดี [[สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]ได้ขึ้นวัดพระธรรมกายไว้ในบัญชีดำฐานเข้าข่ายเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ<ref name="เพี้ยน">{{cite web|title=ธรรมกายสุดเพี้ยน! ปลุกวิญญาณ 'สตีฟ จ็อบส์'|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000103042|work=[[ผู้จัดการรายวัน]]|date=2555-08-22|accessdate=2555-08-22}}</ref>
 
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ให้วัดพระธรรมกายเป็นเขตพื้นที่ควบคุมพิเศษ เพื่อจับกุม[[พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย|พระธัมมชโย]]<ref>ทหาร-ตำรวจพรึ่บ! ล้อมวัดพระธรรมกาย “ดีเอสไอ” ประกาศให้ ปชช.เลี่ยงถนนคลองหลวง (ชมคลิป) http://manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9600000016155</ref>
 
== ประวัติ ==
=== ยุคเริ่มต้น ===
ในสมัยที่[[พระมงคลเทพมุนี]]ได้มรณภาพไปแล้ว ลูกศิษย์ของท่าน รวมถึงแม่ชี[[จันทร์ ขนนกยูง]] ได้สืบทอดสายปฏิบัติของ[[วิชชาธรรมกาย]] ให้กับลูกศิษย์รุ่นใหม่ที่[[วัดปากน้ำภาษีเจริญ]]{{sfn|Heikkilä-Horn|19962539|p=94}} ในสมัยนั้น คุณ[[พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย|ไชยบูลย์ สุทธพล]]ศึกษาอยู่ที่[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ในปี พ.ศ. 2506 คุณไชยบูลย์ ได้ไปที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ หลังจากที่ได้อ่านวารสาร ''[[วิปัสสนาบันเทิงสาร]]'' ซึ่งมีอ้างถึงคุณวิเศษของแม่ชีจันทร์<ref>{{cite news |last1= Rajakaruna |first1=J. |title=Maha Dhammakaya Cetiya where millions congregate seeking inner peace |trans-title=มหาธรรมกายเจดีย์ สถานที่ที่คนแสงหาสันติสุขภายในรวมเป็นล้าน|language=ภาษาอังกฤษ|url= http://archives.dailynews.lk/2008/02/20/fea07.asp |work=Daily News (ศรีลังกา)|publisher=Lake House |date=28 ก.พ. 2551}}</ref><ref name="McDaniel 2006">{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=CRCD96RNxfwC|title=Buddhism in World Cultures: Comparative Perspectives|language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=พระพุทธศาสนาตามวัฒนธรรมต่างๆ ในโลก มุมมองในแง่เปรียบเมียบ|editor-last=Berkwitz|editor-first=Stephen C.|publisher=ABC-CLIO|year=20062549|isbn=1-85109-787-2|location=Santa Barbara, California|chapter=Buddhism in Thailand: Negotiating the Modern Age|last=McDaniel|first=Justin}}</ref>
 
คุณไชยบูลย์ได้ชักชวนเพื่อนนักศึกษาร่วมกิจกรรมที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ คณะลุกศิษย์แม่ชีจันทร์จึงขยายมากขึ้น<ref name="McDaniel 2006" /> มีอยู่หนึ่งคนในคณะลูกศิษย์ที่ชื่อคุณเผด็จ ผ่องสวัสดิ์ (ซึ่งในภายหลังได้บวชเป็นพรภิกษุ และได้มาเป็นรองเจ้าอวาสวัดพระธรรมกาย ชื่อ[[พระเผด็จ ทตฺตชีโว]]). ในปี 2512 คุณไชยบูลย์เองได้[[บรรพชาอุปสมบท]]เป็นพระภิกษุ และได้รับฉายา "ธมฺมชโย" และต่อมาได้เริ่มสอน[[กรรมฐาน]]ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญร่วมกับแม่ชีจันทร์{{sfn|Heikkilä-Horn|1996|p=94}} ในที่สุดคณะลูกศิษย์ได้ขยายไปเป็นจำนวนมาก จึงมีความยากที่จะจัดกิจกกรมที่วัดปากน้ำภาษีเจริญต่อ{{sfn|เฟื่องฟูสกุล|2541}} ดังนั้นในวันที่ 20 ก.พ. พ.ศ. 2513 แม่ชีจันทร์ พระธัมมชโย และพระทัตตชีโว พร้อมกับบรรดาลูกศิษย์ได้ย้ายไปตั้งศูนย์ปฎิบัติธรรมอีกต่างหาก โดยที่มีเริ่มต้นบนที่ดินแปลง 196 ไร่ใน[[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]]<ref name="Sirikanchana" />
[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ประกาศให้เป็นวัดตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ในชื่อ "ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม" และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดวรณีธรรมกายาราม" ได้ชื่อตามวรณี สุนทรเวช ธิดาของพระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) กับ[[คุณหญิง]]แพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (ประหยัด สุนทรเวช) ผู้บริจาคสถานที่ และต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "วัดพระธรรมกาย" จนถึงปัจจุบัน<ref name="เรื่องชาวนา">http://www.kalyanamitra.org/u-ni-boon/main/index.php?option=com_content&task=view&id=141&Itemid=4</ref><ref>{{cite journal|url=https://www.cambridge.org/core/journals/journal-of-southeast-asian-studies/article/div-classtitlereform-symbolism-of-a-thai-middleclass-sect-the-growth-and-appeal-of-the-thammakai-movementa-hreffn01-ref-typefnspan-classsup1spanadiv/1DCB6678ECE928685C6A2F5BAAF74D94|last=Zehner|first=Edwin|title=Reform Symbolism of a Thai Middle–Class Sect: The Growth and Appeal of the Thammakai Movement|trans-title=สัญลักษณ์เชิงปฏรูปในกลุ่มศาสนาระดับชนชั้นกลาง การเติบโต และแรงดึงดูด ของสำนักธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|year=2533|publisher=Cambridge University Press ในนามของ Department of History National University of Singapore|journal=Journal of Southeast Asian Studies|volume=21|issue=2}}</ref> ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์ ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]] เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 96 ตอนที่ 15 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522<ref>{{cite news|series=มหากาพย์ ธรรมกาย|volume=3|title=จาก "บ้านธรรมประสิทธิ์" สู่ "มหาธรรมกายเจดีย์"|url=https://www.youtube.com/watch?v=PmIM_ZiFjRQ|accessdate=15 พ.ย. 2559|work=[[ช่อง 8 (โทรทัศน์)]]|time=1:52|date=29 พ.ค. 2559}}</ref><ref>{{cite book|last=Heikkilä-Horn|first=Marja-Leena|title=Dhammakaya|trans-title=ธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|url=https://books.google.com/?id=-RfYBgAAQBAJ|year=2015|publisher=ABC-CLIO|editor-last=Athyal|editor-first=Jesudas M.|encyclopedia=Religion in Southeast Asia: An Encyclopedia of Faiths and Cultures|isbn=978-1-61069-250-2}}</ref>
 
[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ประกาศให้เป็นวัดตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ในชื่อ "ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม" และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดวรณีธรรมกายาราม" ได้ชื่อตามวรณี สุนทรเวช ธิดาของพระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) กับ[[คุณหญิง]]แพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (ประหยัด สุนทรเวช) ผู้บริจาคสถานที่ และต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "วัดพระธรรมกาย" จนถึงปัจจุบัน<ref name="เรื่องชาวนา">http://www.kalyanamitra.org/u-ni-boon/main/index.php?option=com_content&task=view&id=141&Itemid=4</ref><ref>{{cite journal|url=https://www.cambridge.org/core/journals/journal-of-southeast-asian-studies/article/div-classtitlereform-symbolism-of-a-thai-middleclass-sect-the-growth-and-appeal-of-the-thammakai-movementa-hreffn01-ref-typefnspan-classsup1spanadiv/1DCB6678ECE928685C6A2F5BAAF74D94|last=Zehner|first=Edwin|title=Reform Symbolism of a Thai Middle–Class Sect: The Growth and Appeal of the Thammakai Movement|trans-title=สัญลักษณ์เชิงปฏรูปในกลุ่มศาสนาระดับชนชั้นกลาง การเติบโต และแรงดึงดูด ของสำนักธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|year=2533|publisher=Cambridge University Press ในนามของ Department of History National University of Singapore|journal=Journal of Southeast Asian Studies|volume=21|issue=2}}</ref> ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์ ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]] เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 96 ตอนที่ 15 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522<ref>{{cite news|series=มหากาพย์ ธรรมกาย|volume=3|title=จาก "บ้านธรรมประสิทธิ์" สู่ "มหาธรรมกายเจดีย์"|url=https://www.youtube.com/watch?v=PmIM_ZiFjRQ|accessdate=15 พ.ย. 2559|work=[[ช่อง 8 (โทรทัศน์)]]|time=1:52|date=29 พ.ค. 2559}}</ref><ref>{{cite booksfn|last=Heikkilä-Horn|first=Marja-Leena|title=Dhammakaya|trans-title=ธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|url=https://books.google.com/?id=-RfYBgAAQBAJ|year=2015|publisher=ABC-CLIO|editor-last=Athyal|editor-first=Jesudas M.|encyclopedia=Religion in Southeast Asia: An Encyclopedia of Faiths and Cultures|isbn=978-1-61069-250-2}}</ref>
 
ในสมัยแรกแม่ชีจันทร์ยังมีบทบาทที่สำคัญในการบอกบุญ และการปกครอง ต่อมา เมื่อท่านอายุมากขึ้น จึงค่อยๆ มอบให้ลูกศิษย์ของท่าน คือหลวงพ่อธัมมชโย และหลวงพ่อทัตตชีโวบริหารงานต่อ{{sfn|เฟื่องฟูสกุล|2541|น=41–3}}
 
=== การเติบโต ===
ในสมัย พ.ศ. 2520-2530 ในช่วงเวลาที่เศรษกิจในประเทศไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว วัดพระธรรมกายเริ่มเป็นที่นิยมของประชาชนมากขึ้น.<ref name="Falk 2007">{{cite book|url=https://books.google.com/?id=mQ2_t8TMcAoC|title=Making fields of merit: Buddhist female ascetics and gendered orders in Thailand|language=ภาาาอังกฤษ|trans-title=การสร้างเนื้อนาบุญ นักบวชผู้หญิง และการแยกเพษในหมู่นักบวชในประเทศไทย|date=2550|publisher=NIAS Press|isbn=978-87-7694-019-5|location=Copenhagen|last1=Falk|first1=Monica Lindberg}}</ref>{{sfn|McDaniel|2553|pp=41, 662}}{{sfn|Bechert|2540|p=176}} วัดพระธรรมกายได้ถ่ายทอดค่านิยม มุ่งเน้นความสำเร็จทางธุรกิจ ความทันสมัย และการฝึกฝนตนเอง ซึ่งทำให้วัดเป็นที่ดึงดูดของประชาชนชนชั้นกลาง{{sfn|Scott|2552|p=52}} อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้นประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลโดยฉับพลัน ทั้งด้านธรรมเนียมประเพณี และด้านสังคม ชนชั้นกลางจึงต้องการที่พึ่ง{{sfn|Swearer|2534|p=656}}{{sfn|Taylor|2532|p=126}}
 
ตั้งแต่ช่วงแรกที่เริ่มสร้างวัดระธรรมกายจะมุ่งเน้นกิจกรรมสำหรับนักเรียน และนักศึกษา ตังแต่ปี พ.ศ. 2525 วัดพระธรรมกายได้ตั้งโครงการอบรมขึ้นมา โดยตั้งชื่อว่า ''ธรรมทายาท'' ซึ่งเป็นโครงการปฏิบัติธรรมที่มุ่งเน้นนักศึกษามหาวิทยาลัย<ref>{{cite journal|last1=เฟืองฟูสกุล|first1=อภิญญา|title=Empire of Crystal and Utopian Commune: Two Types of Contemporary Theravada Reform in Thailand|language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=อาณาจักรแก้ว และหมู่คณะตามอุดมคติ การปฏิรูปเถรวาทในประเทศไทยแบบสมัยใหม่ สองแนวทาง|journal=Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia|date=1 ม.ค. 2536|volume=8|issue=1|p=157}}</ref> ต่อมานักศึกษที่ผ่านการอบรมโครงการนี้ ได้มาเป็นผู้ประสานงานในชมรมพุทธของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยที่ในช่วงเวลา พ.ศ. 2520–2530 มีผู้ประสานงานที่เป็นลูกศิษย์ของวัดประสานงานในชมรมพุทธในมหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศไทย{{sfn|Scott|2552|p=44}} และในปี พ.ศ. 2524 วัดพระธรรมกายจัดตั้งโครงการ ''ทางก้าวหน้า'' โดยที่มีโรงเรียนหลายแห่งในประเทศไทยสมัครเพื่อให้นักเรียนแข่งขันสอบความรู้ด้านคำสอนเรื่องจรียธรรมในพระพุทธศาสนา{{sfn|Mackenzie|2007|pp=42–3}} ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 วัดพระธรรมกายได้ปรับโครงการ ''ธรรมทายาท'' มาเป็นโครงการ[[บวช]] ตามธรรมเนียมโบราณที่จะบวชสั้น<ref>{{cite thesis|last1=Newell|first1=Catherine Sarah|title=Monks, meditation and missing links: continuity, "orthodoxy" and the vijja dhammakaya in Thai Buddhism|language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=พระภิกษุ สมาธิ และสิ่งต่อเชื่อมที่หายไป การสืบทอด ความเชื่อดั้งเดิม และวิชชาธรรมกายตามพระพุทะศาสนาแบบไทย|date=1 เม.ย. พ.ศ. 2051|publisher=Department of the Study of Religions, [[วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน]]|type=Ph.D.|page=130}}</ref> ซึงในเวลานั้นการบวชตามประเพณีมักบวชไม่นานนัก วัดพระธรรมกายจึงได้พยายามที่จะสวนกระแสดังกล่าว โดยการจัดบวช 2–3 เดือนเป็นอย่างน้อย<ref>{{cite encyclopedia| title=Dhammakāya Movement |language=ภาษาอังกฤษ| trans-title= ขบวนการธรรมกาย|encyclopedia=Encyclopedia of Religion | publisher=Thomson Gale| last=Zehner|first=Edwin| editor-last=Jones|editor-first=Lindsay | year=2548 | volume=4 | edition=2 | location=Farmington Hills|p=2325}}</ref>
 
[[มูลนิธิธรรมกาย]]จัดตั้งขึ้นก่อนก่อตั้งวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 เดิมใช้ชื่อว่า "มูลนิธิธรรมประสิทธิ์" โดยจดทะเบียนเป็น[[นิติบุคคล]] ณ [[กระทรวงมหาดไทย]] เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2513 เมื่อสร้างวัดพระธรรมกายเสร็จได้ขอแก้ไขเอกสาร เปลี่ยนชื่อเป็น "มูลนิธิพระธรรมกาย" เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2525 ณ ศาลากลาง[[จังหวัดปทุมธานี]] และเพื่อไม่ให้สับสนกับชื่อวัด จึงจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อจาก "มูลนิธิพระธรรมกาย" เป็น "มูลนิธิธรรมกาย" โดยได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ตามหนังสือที่ ศธ 1304/6088 ลงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2528<ref name="Sirikanchana">{{cite encyclopedia|last=Sirikanchana|first=Pataraporn| title=Dhammakaya Foundation|language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=มูลนิธิธรรมกาย|encyclopedia=Religions of the World: A Comprehensive Encyclopedia of Beliefs and Practices|edition=2 | year =2010 | publisher =ABC-CLIO| editor-last1 =Melton | editor-first1 =J. Gordon |editor-last2 =Baumann | editor-first2 =Martin}}</ref><ref>{{cite web|author1=คณะทีมงานประชาสัมพันธ์|title=เอกสารชี้แจงฉบับที่ 2/2541-พระราชภาวนาวิสุทธิ์กับการถือครองที่ดิน|url=http://www.dhammakaya.or.th/thai/fact/html/fact_document_41-02.html|website=www.dhammakaya.or.th|publisher=[[มูลนิธิธรรมกาย]]|archiveurl=https://web.archive.org/web/20050312140144/http://www.dhammakaya.or.th/thai/fact/html/fact_document_41-02.html|archivedate=12 มี.ค. 2548|location=[[จังหวัดปทุมธานี]]h|date=19 ธ.ค. 2541}}</ref>
 
=== โครงการด้านการคณะสงฆ์ ===
เส้น 58 ⟶ 65:
 
== บุคคลสำคัญ ==
* [[พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย]] อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย และเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับของศาลอาญา ในข้อหาสมคบกันฟอกเงิน ร่วมกันฟอกเงิน และรับของโจร
* [[พระเผด็จ ทตฺตชีโว]] เป็นรองเจ้าอาวาส
 
== วิเคราะห์ทางการเมือง ==
เส้น 148 ⟶ 155:
== บรรณานุกรม ==
{{refbegin}}
* {{Citation|url=http://www.cubs.chula.ac.th/images/research/58_2/Dhammakaya_Full.pdf|last1=เฟื่องฟูสกุล|first1=อภิญญา|title=ศาสนาทัศน์ของชุมชนเมืองสมัยใหม่: ศึกษากรณีวัดพระธรรมกาย|publisher=ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา [[จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย]]|year=2541}}
* {{Citation|last=Heikkilä-Horn|first=Marja-Leena|title=Dhammakaya|trans-title=ธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|url=https://books.google.com/?id=-RfYBgAAQBAJ|year=2015|publisher=ABC-CLIO|editor-last=Athyal|editor-first=Jesudas M.|encyclopedia=Religion in Southeast Asia: An Encyclopedia of Faiths and Cultures|isbn=978-1-61069-250-2}}
* {{Citation|url=https://www.buddhismuskunde.uni-hamburg.de/pdf/4-publikationen/buddhismus-in-geschichte-und-gegenwart/bd2-k08bechert.pdf|last=Bechert|first=Heinz|year=2540|editor1-last=Mathes|editor1-first=Klaus-Dieter|editor2-last=Freese|editor2-first=Harald|title=Der moderne Theravada-Buddhismus in Sri Lanka und Südostasien|language=ภาษาเยอรมัน|trans-title=พระพุทธศาสนาเถรวาทในศรีลังกา และเอเซียอาคเนย์ในยุคใหม่|encyclopedia=Buddhism in the Past and Present|publisher= Asia-Africa Institute, [[มหาวิทยาลัย Hamburg]]| volume=2}}
* {{Citation|url=http://uskontotiede.fi/temenos/vol32.html|last=Heikkilä-Horn|first=M-J|year=2539|title=Two Paths to Revivalism in Thai Buddhism: The Dhammakaya and Santi Asoke Movements|language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=เส้นทางของการฟื้นฝู่ สำนักธรรมกาย และสำนักสันติอโศก"|journal=Temenos|issue=32}}
* {{Citation|last=Heikkilä-Horn|first=Marja-Leena|title=Dhammakaya|trans-title=ธรรมกาย|language=ภาษาอังกฤษ|url=https://books.google.com/?id=-RfYBgAAQBAJ|year=20152558|publisher=ABC-CLIO|editor-last=Athyal|editor-first=Jesudas M.|encyclopedia=Religion in Southeast Asia: An Encyclopedia of Faiths and Cultures|isbn=978-1-61069-250-2}}
* {{Citation|last=Mackenzie|first=Rory|title=New Buddhist Movements in Thailand: Towards an understanding of Wat Phra Dhammakaya and Santi Asoke|trans-title=กระแสพุทธใหม่ในประเทศไทย ทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย และสันติอโศก|language=ภาษาอังกฤษ|year=2550|publisher=Routledge|isbn=0-203-96646-5|location=Abingdon}}
* {{Citation | last=McDaniel | first =Justin | title =Buddhists in Modern Southeast Asia | language=ภาษาอังกฤษ|trans-title=ชาวพุทธเอเชียอาคเนย์ในสมัยใหม่|year =2553| publisher=Blackwell Publishing| journal =Religion Compass| volume =4 |issue =11 |doi=10.1111/j.1749-8171.2010.00247.x}}
* {{Citation|last1=Scott|first1=Rachelle M.|title=Nirvana for Sale? Buddhism, Wealth, and the Dhammakāya Temple in Contemporary Thailand|trans-title=ขายนิพพานจริงหรือ พระพุทธศาสนา ความรวย และวัดพระธรรมกายในประเทศไทยยุคปัจจุบัน|year=20092552|publisher=State University of New York Press|location=Albany|isbn=978-1-4416-2410-9|language=ภาษาอังกฤษ}}
* {{Citation|url=https://books.google.com/?id=qd5yzP5hdiEC|last=Swearer|first=Donald K.|chapter=Fundamentalistic Movements in Theravada Buddhism|year=1991|title =Fundamentalisms Observed|language=ภาษาอังกฤษ|volume=1|publisher=[[มหาวิทยาลัย Chicago]]|location=Chicago; London|editor-last1=Marty|editor-first1=M.E.|editor-last2=Appleby|editor-first2=R.S.|isbn=978-0-226-50878-8}}
* {{Citation|last1=Taylor|first1=J. L.|title=Contemporary Urban Buddhist "Cults" and the Socio-Political Order in Thailand|language=ภาษาอังกฤษ|journal=Mankind|year=1989|volume=19|issue=2 | doi=10.1111/j.1835-9310.1989.tb00100.x}}
{{refend}}