ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาติชาย ชุณหะวัณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
บรรทัด 6:
| term_end = 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534<br> ({{อายุปีและวัน|2531|8|4|2534|2|23}})
| monarch = [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
| viceprimeminister = [[พงส์ สารสิน]]</br />[[พิชัย รัตตกุล]]</br />[[เทียนชัย ศิริสัมพันธ์]]</br />[[ชวน หลีกภัย]]</br />[[ชวลิต ยงใจยุทธ]]</br />[[ประมวล สภาวสุ]]</br />[[สนั่น ขจรประศาสน์]]</br />[[มานะ รัตนโกเศศ]]</br />[[ทองหยด จิตตวีระ]]</br />[[อาทิตย์ กำลังเอก]]</br />[[บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ]]</br />[[เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์]]</br />[[โกศล ไกรฤกษ์]]
| predecessor = [[เปรม ติณสูลานนท์]]
| successor = [[อานันท์ ปันยารชุน]]
บรรทัด 24:
}}
 
'''พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ''' ([[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2463]] — [[6 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2541]]) เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่ง[[รายนามรองนายกรัฐมนตรีของไทย|รองนายกรัฐมนตรี]]และรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ [[กระทรวงการต่างประเทศ]] [[กระทรวงอุตสาหกรรม]] และ [[กระทรวงกลาโหม]]
 
พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ [[พรรคชาติไทย]] และ [[พรรคชาติพัฒนา]]
บรรทัด 35:
พลเอกชาติชาย เข้ารับการศึกษาที่[[โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี]] [[โรงเรียนเทพศิรินทร์]]และโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร [[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[โรงเรียนนายทหารม้า]] และโรงเรียนยานเกราะกองทัพบก (อาร์เมอร์สคูล) [[รัฐเคนทักกี]] [[สหรัฐอเมริกา]]
 
'''พล.อ.ชาติชาย มีพี่สาว 3 คน และน้องสาว 1 คน'''
 
* พี่สาวคนโตคือ [[คุณหญิง]] [[อุดมลักษณ์ ศรียานนท์]] ภริยา [[เผ่า ศรียานนท์|พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์]] อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ผู้ทรงอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในประเทศไทย ในช่วงก่อนการรัฐประหารปี พ.ศ. 2500
บรรทัด 49:
== ประวัติการรับราชการ ==
พลเอกชาติชาย รับราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483 ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด [[กองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์]] ผู้บังคับกองร้อย กองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ ประจำกรมเสนาธิการทหารบก ในช่วงที่ต้องไปประจำการที่ [[สหรัฐไทยเดิม]]พอดี<ref>[http://sem100.doctor.or.th/node/15 เสม พริ้งพวงแก้ว โดย : วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง] ตอนที่ 3</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2492 ได้ย้ายไปดำรงตำแหน่งรองผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารบก
ณ [[วอชิงตัน ดี.ซี.|กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.]] สหรัฐอเมริกา และกลับมาเป็นผู้บังคับกองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ รองผู้บังคับการโรงเรียนยานเกราะ และผู้บังคับการกรมทหารม้าที่ 2 และผู้บังคับการโรงเรียนยานเกราะ
 
ในปี พ.ศ. 2501 ได้ถูกเหตุการณ์ทางการเมืองผันแปรชีวิตไปเป็นอุปทูตอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประจำประเทศอาร์เจนตินา และเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประจำประเทศออสเตรีย ตุรกี สำนักวาติกัน และเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรประจำ[[องค์การสหประชาชาติ]] ณ [[เจนีวา|นครเจนีวา]] ตามลำดับ
 
ปี พ.ศ. 2515 พลเอกชาติชาย เดินทางกลับประเทศไทย เข้ารับตำแหน่ง อธิบดีกรมการเมือง [[กระทรวงการต่างประเทศ]] ต่อมาดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงสำนักงานปลัดกระทรวง<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/D/047/3.PDF</ref> ซึ่งนับเป็นตำแหน่งสุดท้าย ในชีวิตข้าราชการประจำ เนื่องจากในปลายปี พ.ศ. 2515 นี้เอง พลเอกชาติชาย ที่ขณะนั้นยังมียศเป็น พลจัตวาชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ใน [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 32 ของไทย]] ที่มี [[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] เป็นนายกรัฐมนตรี และหลังจากนั้น พลเอกชาติชาย ก็ได้เข้าสู่วงการเมืองอย่างเต็มตัว
 
== บทบาททางการเมืองยุคแรก ==
[[ไฟล์:Bush & Choonhavan.jpeg|thumb|พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ กับ[[จอร์จ บุช]] เมื่อปี พ.ศ. 2533]]
พลเอกชาติชาย มีส่วนร่วมในการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2490]] โดยเป็นหนึ่งในกำลังทหารที่บุกไปที่ทำเนียบท่าช้าง เพื่อทำการควบคุมตัว นาย[[ปรีดี พนมยงค์]] นายกรัฐมนตรี โดยขณะนั้นมีอายุ 27 ปี <ref name="หน้า"/> และการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2494]] ตามบิดา คือ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ผู้เป็นหัวหน้าในการรัฐประหารทั้งสองครั้งนี้ โดยขณะมียศเพียงแค่ร้อยเอกเท่านั้น หลังจากนั้นเริ่มบทบาททางการเมืองอย่างแท้จริงในรัฐบาล [[จอมพลถนอม กิตติขจร]] ด้วยตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2518]] พลเอกชาติชาย ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[จังหวัดนครราชสีมา]] และได้รับเลือกตั้งต่อเนื่องกันมาอีกรวม 5 สมัย พลเอกชาติชาย และได้เข้าร่วมในคณะรัฐมนตรีอีกหลายสมัย ในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] และรองนายกรัฐมนตรี
 
* โดยได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามลำดับดังนี้
บรรทัด 65:
** พ.ศ. 2519 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/063/5.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน 35 ราย)]</ref> จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากนายกรัฐมนตรีลาออก และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/119/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๓ ราย)]</ref> อีกสมัยหนึ่ง แต่ดำรงตำแหน่งเพียง 12 วัน และได้เข้าเฝ้าถวายสัตย์ปฏิญาณเพียงวันเดียวก็ต้องพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากการรัฐประหารของพลเรือเอก สงัด ชลออยู่
** พ.ศ. 2523 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/A/040/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)]</ref>
** พ.ศ. 2529 รองนายกรัฐมนตรี
 
ในปี พ.ศ. 2517 พลเอกชาติชาย ได้ร่วมกับ พลตรี[[ประมาณ อดิเรกสาร]] ผู้มีศักดิ์เป็นพี่เขย และ พลตรีศิริ สิริโยธิน ก่อตั้ง [[พรรคชาติไทย]] ขึ้น โดยมี พลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นหัวหน้าพรรค และต่อมาในปี พ.ศ. 2529 พลเอกชาติชายขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคคนที่ 2 สามารถนำพรรคชาติไทย ชนะการเลือกตั้งได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งในปี พ.ศ. 2531 ในชั้นต้นมีการทาบทาม [[เปรม ติณสูลานนท์|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์]] ให้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อเป็นสมัยที่ 4 แต่พลเอกเปรมปฏิเสธ และประกาศวางมือทางการเมือง พลเอกชาติชายจึงได้รับการสนับสนุน ให้ดำรงตำแหน่งเป็น [[นายกรัฐมนตรี]] คนที่ 17 ของประเทศไทย
บรรทัด 89:
ปลายปี พ.ศ. 2540 เมื่อ [[ชวลิต ยงใจยุทธ|พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ]] ลาออกจากตำแหน่ง [[นายกรัฐมนตรี]] ในตอนแรกพรรคร่วมรัฐบาลเดิมในขณะนั้นมีมติร่วมกันที่จะสนับสนุน พลเอกชาติชาย ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี อีกครั้ง แต่ในที่สุด [[พรรคกิจสังคม]] ที่มี[[มนตรี พงษ์พานิช|นายมนตรี พงษ์พานิช]] เป็นหัวหน้าพรรค ได้เปลี่ยนไปสนับสนุน [[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] หัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]]แทน ตามมาด้วย [[พรรคประชากรไทย]] ที่มี [[สมัคร สุนทรเวช|นายสมัคร สุนทรเวช]] เป็นหัวหน้าพรรค เกิดกรณี ส.ส. "[[กลุ่มงูเห่า]]" ที่แสดงตัวสนับสนุน นายชวน หลีกภัยเช่นเดียวกัน ทำให้ในที่สุดผู้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี คนใหม่กลายเป็น นายชวน หลีกภัย ที่ได้เป็น นายกรัฐมนตรี สมัยที่ 2 แทนที่จะเป็น พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ม.ป.ช.|2518}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/D/263/46.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] เล่ม ๙๒ ตอน ๒๖๓ง วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๑๘</ref>
{{ม.ว.ม.}}
{{ป.จ.|2533}}
* [[ไฟล์:Order of Ramkeerati (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/118/2.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ] เล่ม 116 ตอน 118 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2532</ref>
{{ต.จ.|2498}} สืบตระกูล จอมพล ผิน ชุณหะวัณ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/036/1119.PDF ประกาศสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] เล่ม 72 ตอนที่ 36 วันที่ 17 พฤษภาคม 2498</ref>
* [[ไฟล์:Bravery Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญกล้าหาญ]]