ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 53:
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (ขนาด[[แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์|เมกะทรัสต์]]) ครั้งอื่น เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1868 ใน[[ประเทศเปรู]] (แผ่นเปลือกโลกนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1827 ใน[[โคลอมเบีย]] (แผ่นนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1812 ใน[[เวเนซูเอลา]] (แผ่นแคริบเบียนและแผ่นอเมริกาใต้) และแผ่นดินไหวคาสคาเดีย ค.ศ. 1700 ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกา (แผ่นฮวนเดอฟูกาและ[[แผ่นอเมริกาเหนือ]]) ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คาดว่ามีความรุนแรงมากกว่าแมกนิจูด 9 แต่ไม่มีตัวเลขชัดเจนถึงขนาดที่แท้จริงในขณะนั้น
 
การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดจากแผ่นเปลือกโลก อินโดออสเตรียมุดใต้แผ่นยูเรเชีย ซึ่งแผ่นอินโดออสเตีรยมีการเคลื่อนเข้าไปในแผ่นยูเรเชียทำให้เกิดแนวปะทะยาวตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์(อินเดีย)ยาวลงไปถึงเกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย) แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่และรุนแรงมาก โดยจุดศูนย์กลางอยู่ใกล้กับเกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย)เมือง[[บันดาอาเจะฮ์]] ขนาด9.1-9.3แมกนิจูด(lX) และสร้างรอยแตกขึ้นไปถึงหมูเกาะนิโคบาร์ และประเทศพม่า มีขนาดการทำลายร้าง1,400-1,600 ก.ม.จากจุดศูนย์กลาง กินเวลา8.3-10นาทีเป็นแผ่นดินไหวที่มีเวลามากที่สุด เมื่อมีขนาดถึง9.1-9.3แมกนิจูด และเกิดตรงแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกทำให้แผ่นเปลือกโลกยุบตัวออกมา (ถ้าสังเกต แนวปะทะของรอยต่อแผ่นเปลือกโลกไม่เท่ากันโดยแผ่นดินไหวเมื่อปี2547 แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียขยับออกมาเป็นระยะทางกว่า1,000ก.ม.) การที่เปลือกโลกขนาดใหญ่ขยับออกมา หรือยกตัว จะแทนที่นำ้นำหลายพันล้านตันในมหาสมุทรที่ลึกเป็นพันๆกิโลเมตร และทำให้เกิดเป็นคลื่น กระจายตัวออกไป ส่วนความรุนแรงของสุนามินั้นขึ้นอยู่กับการขยับของแผ่นเปลือกโลกด้วย เช่น แผ่นดินไหวครั้งนี้รอยแตกยาวเป็น1000 กิโลเมตรยาวขึ้นไปถึง หมูเกาะนิโบาร์ แต่จุดที่ได้รับผลสึนามิที่หนักนั้น จะอยู่บริเวณ อินโดนีเซีย ไทย ศรีลังกา อินเดีย สาเหตุเพราะ ในบริเวณนี้เป็นบริเวณที่ใกล้กับจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหวขนาด9.1-9.3แมกนิจูดมากที่สุดในบริเวณนี้แผ่นเปลือกโลกขยับออกมามาก ซึ่งก่อให้เกิดสึนามิ ซึ่งการที่แผ่นยูเชียที่ถูกแผ่นอินโดออสเตรียมุดลงไปด้านล้างนั้นทำให้เกิดแรงบีบอัดอย่างมหาศาลโดยแผ่นอินโดนีเชียเคลื่อนมุดเข้าแผ่นยูเรเชียตลอด ทำไห้สะสมพลังงานมายาวนานอาจถึง100-1,000ปีซึ่งช้ามาก และปล่อยพลังงานออกมาในรูปแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ และมีสึนามิตามมาบ่อยครั้ง แต่ครั้งนี้แปลกมากที่สึนามิมีความรุนแรงมากถึงขนาดฆ่าคน280,000คน ประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียหนักสุดคือ อินโดนีเซียโดยเฉพาะเมืองบันดาอาเจะฮ์ได้รับผลกระทบมากที่สุด(สึนามิสูง30-35เมตร) และสึนามิยังเดินทางมายังไทยและอีกฝั่งเดินทางไปหาศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟ ทวีปแอฟริกา ซึ่งสึนามิที่เกิดจากแผ่นไหวมีอัตตราการเคลื่อนที่ที่เร็วมากประมาณ600-800 ก.ม./ช.ม. และสึนามิส่วนหนึ่งยังเดินทางข้ามมหาสมุทรอื่นผ่านประเทศแอฟริกาใต้
 
ข้อสังเกตแผ่นดินไหวที่สามารถก่อให้เกิดสึนามิและการทำลายล้างสูง ส่วนมากมักจะเกิดอยู่ในมหาสมุทรและมีขนาดใหญ่ถึง8.0-9.0+แมกนิจูดและชอบเกิดอยู่บริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและมักเกิดไม่ลึกมาก ซึ่งตรงกับแผ่นดินไหวที่ประเทศชีลี9.4-9.6แมกนิจูด(แผ่นนาสคามุดใต้แผ่นอเมริกาใต้) แผ่นดินไหวที่ประเทศสหรัฐขนาด9.2แมกนิจูด (แผ่นแปปซิฟิกมุดใต้แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นดินไหวที่ประเทศอินโดนีเซียขนาด 9.1-9.3แมกนิจูด(แผ่นอินโดออสเตรียมุดใต้แผ่นยูเรเชีย) แผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปุ่นขนาด9.0-9.1แมกนิจูด(แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่น อเมริกาเหนือ) แผ่นดินไหวที่ประเทศรัสเซียขนาด9.0แมกนิจูด(แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่นอเมริกาเหนือ) ซึ่งแผ่นดินไหวที่กล่าวข้างต้น ก่อให้เกิดสึนามิทั้งสิ้น และทุกครั้งที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด9.0+แมกนิจูด จะสร้างความเสียหายระดับสูงทั้งนั้นเช่น ญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และแผ่นดินไหวเมื่อปี2547
 
แผ่นดินไหวขนาด8.7แมกนิจูดเมื่อปี2555 ที่มหาสมุทรอินเดียจุดศุนย์กลางใกล้กับเกาสุมาตราที่เป็นที่ตกตื่นกันในบริเวณเสี่ยงภัยซึ่งอาจซํ้ารอยแผ่นดินไหวเมื่อปีพ.ศ. 2547 ต่อมาพบว่าเกิดสึนามิขนาดเล็กข้อสังเกตคือว่า จริงอยู่ว่าแผ่นดินไหวนี้มีขนาดใหญ่8.7แมกนิจูดซึ่งก่อให้เกิดสึนามิขนาดใหญ่ได้ แต่แผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่เกิดบริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก ซึ่งไม่ได้หมายความว่าจะไม่เกิดสึนามิ แต่โอกาศจะเกิดสึนามิขนาดใหญ่เท่าเมื่อปี2547มีโอกาศน้อยมาก เพราะรอยเลื่อนเคลื่อนที่ผ่านกัน นั้นมีการเคลื่อนที่ในแนวระนาบซึ่งแทนที่น้ำได้น้อย เช่น แผ่นดินไหวเมื่อปี2547และแผ่นดินไหวของญี่ปุ่นปี2554 เกิดบนแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก2แผ่นและขนาดแผ่นดินมีขนาด9.0แมกนิจูด ทำให้เกิดสึนามิที่มีขนาดใหญ่
 
แผ่นดินไหวขนาด9.0แมกนิจูดขึ้นไป มีสาเหตุมาจากอะไร และทำไมถึงเกิดสึนามิขนาดใหญ่ตามมา
 
แผ่นดินไหวขนาด9.0+แมกนิจูดขึ้นไปมีอยุ่ประมาณ5ครั้ง(ของโลก)ที่เครื่องวัดแผ่นดินไหวสามารถวัดได้ 1.แผ่นดินไหวที่ประเทศชิลี 9.5 แมกนิจูด 2.แผ่นดินไหว สหรัฐฯ 9.2 แมกนิจูด 3.แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซีย(มหาสมุทรอินเดีย) 9.1-9.3 แมกนูจูด ส่วนมากนิยม(9.2) 4.แผ่นดินไหวญี่ปุ่น ขนาด9.0-9.1 แมกนิจูด 5.แผ่นดินไหวรัสเซีย 9.0แมกนิจูด แผ่นดินไหวที่กล่าวมา ข้างต้นเป็นแผ่นดินไหวที่เกิดไม่บ่อย มาก แต่มีโอกาศเกิดอยู่ตลอด เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก ปล่อยพลังออกมามาก ทำให้ท้องทะเลสั่นสะเทื่อน แผ่นดินไหวทั้งหมดนี้ เกิดจาก1.รอยเลื่อนที่ประเทสไทย นิยมเรียกว่า ย้อนมุมตํ่า กล่าวคือแผ่นเปลือกโลกหนึ่งจะยกตัวขึ้นกระทันหันหลังเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งจะยกนํ้าขึ้นมาเป็นสึนามินั่นเอง แต่ในสากล นิยมเรียกว่า เขตมุดตัวของแผ่นเปลือก กล่าวคือ ลองคิดดูว่า แผ่นเปลือกโลกหนึ่ง ถูกอีกแผ่นหนึ่ง มุดลงข้างด้านล่างและแผ่นที่มุดลงด้านล่างก็ดึงแผ่นที่ถูกมุดลงมาด้วยอย่างช้าๆ และเมื่อแผ่นที่ถูกดึง มีความเครียดสูง ก็จะดีดตัวกลัว และดันนํ้าทะเลขึ้นมาด้วย ซึ่ง บนพื้นดินก็สามารถพบได้ รอยเลื่อนประเภทนี้อันตรายมากเพราะมันมี่พลังงานมาก เช่น การเกิด ของเทือกเขาหิมาลัย ก็เกิดจากแผ่นดินมุดตัว โดยแผ่นดินอินเดีย มุดลงด้านล่าง แผ่นยูเรเชีย จุดเกิดการบีบอัด สร้างเทือกเขาสูงขึ้นมา และสร้างแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก เคย ทำแผ่นดินไหว 8.6แมกนิจูด มาแล้ว เพราะฉะนั้นมันจะอันตรายมาก ถ้ารอยเลื่อนประเภทนี้อยู่บนพื้นดิน และถ้ามันไปอยู่แถบชนบทที่มีคนอยู่จำนวนมาก 2.ความลึก ก็เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการจะดูว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้จะมีแรงสั่นสะเทือนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความลึกด้้วยด้วย เช่นแผ่นดินไหว ครั้งหนึ่ง ขนาด7.5 เกิดบนพื้นดิน ลึกจากผิดโลก 10 กิโลเมตร อันนี้จะสร้างความเสียหายที่รุนแรงมาก ถ้าเทียบกับมาตราเมอร์คัลลี่ จะอยู่ประมาณ X-Xl เลยที่เดียว ซึ่งสามารถอ้างได้จากแผ่นดินไหวที่ประเทศเฮติ ที่ฆ่าคนนับ 200,000 คน เลยที่เดียว มันมีขนาด7.0 ซึ่งอยู่ในขั้นที่แรง แต่มาตราเมอร์คัลลี่มัน เท่ากับX ซึ่งรุนแรงมาก มาตราเมอร์คัลลีของมันมากกว่า แผ่นดินไหว ขนาด9.1-9.3 ของอินโดนีเซีย กับแผ่นดินไหว 9.0-9.1 ของญี่ปุ่นที่มีมาตราเมอร์คัลลี่ lX ข้อสังเกตคือว่าแผ่นดินไหว ของเฮตินั้น เกิดบนประเทศ และหมู่บ้าน และตื้นมากจากพื้นผิว แรงแผ่นดินไหวเขาเลยได้รับขนาด7.0เต็มๆอยู่แล้ว แต่แผ่นดินไหวอินโดนีเซีย กับ ญี่ปุ่นเกิดนอกชายฝั่งห่างจากประทศไปไกล หลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างมากต่อแรงแผ่นดินไหวที่จะกระจายเข้ามาสู่ประเทศ ทำไห้แรงแผ่นดินไหวที่เข้ามาในประเทศลดลง เหลือประมาณ 7.0 ของญี่ปุ่น มีจังหวัดหนึ่งได้รับแรงแผ่นดินไหวครั้งนี้ 7.0 แมกนิจูด ไม่ใช่9.0แมกนิจูด ตามที่คนพูดกัน ซึ่ง7.0แมกนจูด ตึกของประเทศญี่ปุ่นสามารถ ต้านทานและทนได้อยู่แล้ว แต่ประเทศญี่ปุ่นจะกลัว กับสึนามิเสียมากกว่าแรงแผ่นดินไหวสะอีกเพราะ สึนามินั้น มีพลังมากและมีการทำลายล้างสูงมาก เมื่อในปี 2011 ของญี่ปุ่นที่สึนามิสารมาถโจมตี ที่กั้นสึนามิของญี่ปุ่นได้ง่ายดาย ด้วยความสูง 40.5 เมตร ทำให้โรงงานนิวเคลียระเบิด เป็นต้น 3.ขนาดของแผ่นดินไหวก็สำคัญมากเช่นกัน ขนาดของแผ่นดินไหว สามารถบอกได้ว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้จะเกิดสึนามิได้ ถ้ามีขนาด มากกว่า 7.5ขึ้นไป แต่ในความเป็นจริงแล้ว 7.5 นั้นส่วนมากสึนามิจะไม่ค่อยแรงเท่าไหร่ ส่วนมากที่แรงมากๆจะอยู่ที่ขนาด 8.5-9.0+ แต่ถึงอย่างไรขนาดของแผ่นดินไหว ก็ไม่สามารถ การันตีได้ว่าจะเกิดหรือไม่เกิดสึนามิ เพราะมันสามารถ เพิ่มขึ้นและลดลงได้ เช่นแผ่นดินไหว ขนาด 9.0-9.1 ของญี่ปุ่น รู้หรือไม่ว่าแท้ที่จริงแล้วตอนแรกมันไม่ได้มีขนาดเท่านี้เลย ในตอนแรกของการเกิดแผ่นดินไหว ใหญ่ครั้งนี้ ขนาดมันอยู่ที 7.0+ 8.1 และตอนหลังมาปรับเพิ่มเป็น8.8 แมกนิจูก และหลังเกิดสึนามิไปแล้วปรับเป็น 8.9 และ 9.0 และปัจุบัน ก็เพิ่มขึ้นเป็น 9.1 แมกนิจูด เพราะ ฉะนั้นทำไห้รู้ว่าการเตือนภัย สึนามิเป็นเรื่องที่อ่อนไหวมาก บ้างครั้งอาจจะเกิดมันก็ไม่เกิด อันที่ไม่น่าจะเกิดก็กลับเกิด เพราะฉะนั้น บริเวณที่เสี่ยงภัย ของไทยคือ บริเวณภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันนั้นมีโอกาศเกิดสึนามิมาก นอกชายฝั่งออกไปนั้น จะเป็นรอยต่อแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่(แผ่นอินโดออสเตรียกับแผ่นยูเรเซีย) และยังมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา พื้นที่บริเวณนี้ควารมีการระวังภัยตลอดเวลา ถ้าพบเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่และอยู่บริเวณรอยต่อแผ่นเปลือกโลก ควรฟังการเตือนภัยอย่างเข้มงวด และปฏิบัติตาม ด้วย โดยรวมแผ่นดินไหวขนาด9.0+ ขึ้นไป ส่วนมากสิ่งที่น่ากลัวของพวกมันคือสึนามิ ส่วนรองลงมาคือแรงแผ่นดินไหว นั้นเอง
 
[[ไฟล์:2004 Indonesia Tsunami Complete.gif|300px|framed|ภาพเคลื่อนไหวของคลื่นสึนามิสุมาตรา (ที่มา: [[องค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา]]]]