ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
MineMy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
'''จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย'''เป็น[[มหาวิทยาลัย]]และ[[สถาบันอุดมศึกษา]]แห่งแรกของ[[ประเทศไทย]]<ref>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประวัติจุฬาฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 26 มีนาคม 2550. http://www.chula.ac.th/about/history (7 กรกฎาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref><ref name=":11">ราชกิจจานุเบกษา. “พระบรมราโชวาท ในการพระราชทานประกาศนียบัตรแก่เวชบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๓.” ''เว็บไซต์ Ratchakitcha.'' 25 ตุลาคม 2473. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/2803.PDF (1 พฤษภาคม 2560 ที่เข้าถึง)</ref> ตั้งอยู่ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]<ref name=":15">ราชกิจจานุเบกษา. “ พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๘๒: Ratchakitcha .” ''เว็บไซต์ Ratchakitcha.'' 20 ตุลาคม 2482. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/A/1364.PDF (2 พฤษภาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref> ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน" ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2442 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "[[พระเกี้ยว]]" มาเป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน<ref>ราชกิจจานุเบกษา. “พระราชกำหนดเข็มโรงเรียนข้าราชการพลเรือน.” ''เว็บไซต์ ratchakitcha.'' 17 พฤษภาคม 2457. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/A/129.PDF (21 เมษายน 2560 ที่เข้าถึง).</ref> การดำเนินงานของโรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับ จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ([[ปฏิทินสุริยคติไทย|นับแบบเก่า]]) [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ทรงประดิษฐานขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย และพระราชทานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรติแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมชนกนาถของพระองค์<ref>เว็บไชต์ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/20.PDF ประกาศ เรื่อง ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโอนไปขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ ]. เข้าถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2559</ref> นับตั้งแต่ พ.ศ. 2460 ถึงปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีผู้บัญชาการและ[[อธิการบดี]]มาแล้ว 17 คน อธิการบดีคนปัจจุบัน คือ ศาสตราจารย์ ดร.[[บัณฑิต เอื้ออาภรณ์]]<ref name=":12" />
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยจากหลายสถาบันจัดอันดับ ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยในเขตเมือง และคุณภาพแยกตามรายวิชาอีก 27 รายวิชา<ref name=":2" /><ref name=":3" /><ref name=":4" /><ref name=":5" /><ref name=":6" /><ref name=":7" /><ref name=":8" /><ref>ขติยา, วรวิทย์, สุพัด, and ปริศนา. "จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหา'ลัยไทยติดต่อกันเป็นปีที่ 7 จากการจัดอันดับ QS." มติชนออนไลน์. March 21, 2017. Accessed March 22, 2017. http://www.matichon.co.th/news/503359.</ref><ref name=":18">ShanghaiRanking Consultancy. "Academic Ranking of World Universities 2017." World University Rankings - 2017 | Thailand Universities in Top 500 universities | . Accessed August 26, 2017. http://shanghairanking.com/World-University-Rankings-2017/Thailand.html.</ref>[[ศิริชัย หลอดศิลป์]]
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 [[มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ]] จาก [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ในปี พ.ศ. 2552 และได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาในระดับดีมากจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เป็นสมาชิก[[เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน]] (AUN)<ref>สมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน, ไซต์อย่างเป็นทางการของเครื่อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน, [http://www.aunsec.org/aunmemberuniversities.php AUN Member], เข้าถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559</ref> และเป็นมหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่เป็นสมาชิกของ[[สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก]] (APRU)<ref>Chulalongkorn University, APRU, [https://apru.org/members/member-universities/item/330-chulalongkorn-university Member University ], เข้าถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559</ref><ref>"[http://apru.org/members/member-universities/itemlist/category/234-thailand Chulalongkorn University]". ''Association of Pacific Rim Universities''. 2013-01-10. Retrieved 2016-12-10.</ref> ในส่วนของ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]]นั้นพบว่า ผู้สมัครสอบที่ทำคะแนนรวมสูงสุดในแต่ละปีส่วนใหญ่เลือกเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>http://www.cuas.or.th/document/58D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>http://www.cuas.or.th/document/57D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>http://www.cuas.or.th/document/56D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>http://www.cuas.or.th/document/55D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2555_ann14_25550217.pdf (18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/cotmes60_p8_25600314u.pdf (18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2557_ann12_25570314.pdf<nowiki/>(18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2556_ann08_25560211.pdf<nowiki/>(18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>คมชัดลึก. ""เด็กเก่ง" คะแนนสูงสุด แอดมิชชั่นปี 60." www.komchadluek.net. June 15, 2017. Accessed June 15, 2017. http://www.komchadluek.net/news/edu-health/282588.</ref>