ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เยรูซาเลม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เขียนเตือน
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94:
*{{Cite book|title=What Everyone Needs to Know about Islam|publisher=Oxford University Press|date=2 November 2002|last=Esposito|first=John L.|authorlink=John Esposito|isbn=0-19-515713-3|page=157|quote=The Night Journey made Jerusalem the third holiest city in Islam}}
*{{Cite book|title=Religion and State: The Muslim Approach to Politics|last=Brown|first=Leon Carl|publisher=Columbia University Press|date=15 September 2000|isbn=0-231-12038-9|page=11|chapter=Setting the Stage: Islam and Muslims|quote=The third holiest city of Islam—Jerusalem—is also very much in the center...}}
*{{Cite book|title=The Holy City: Jerusalem in the Theology of the Old Testament|last=Hoppe|first=Leslie J.|publisher=Michael Glazier Books|date=August 2000|isbn=0-8146-5081-3|page=14|quote=Jerusalem has always enjoyed a prominent place in Islam. Jerusalem is often referred to as the third holiest city in Islam...}}</ref> ในปีค.ศ. 610 เยรูซาเลมกลายเป็น[[กิบลัต|ชุมทิศ]]แห่งแรกสำหรับการประกอบพิธี[[ละหมาด]]ของชาวมุสลิม<ref>{{cite book|editor1-last=Lewis|editor1-first=Bernard|editor2-last=Holt|editor2-first=P. M.|editor3-last=Lambton|editor3-first=Ann|title=Cambridge History of Islam|year=1986|publisher=Cambridge University Press}}</ref> และสิบปีหลังจากนั้น [[มุฮัมมัด]]ได้เดินทางมายังเมืองแห่งนี้เพื่อขึ้นสรวงสวรรค์ไปพบกับพระเจ้าตามได้บันทึกไว้ในคัมภีร์[[อัลกุรอาน]]<ref>{{cite quran|17|1|end=3|style=nosup}}</ref><ref>{{Cite book|last=Buchanan|first=Allen|authorlink=Allen Buchanan|year=2004|title=States, Nations, and Borders: The Ethics of Making Boundaries|publisher=Cambridge University Press|isbn=0-521-52575-6|url={{Google books |id=bntCSupRlO4C |page=192 |plainurl=yes}} |accessdate=9 June 2008}}</ref> ด้วยบันทึกทางประวัติศาสตร์นี้เองทำให้เมืองเก่าเยรูซาเลมซึ่งมีพื้นที่เพียง 0.9 ตารางกิโลเมตร เต็มไปด้วยสิ่งก่อสร้างอันมีความสำคัญทางศาสนามากมาย โดยเฉพาะบน[[เนินเขาพระวิหาร]] อันเป็นที่ตั้งของ [[กำแพงโอดครวญ]], [[โดมทองแห่งเยรูซาเลม]], [[มัสยิดอัลอักซอ]]
 
ปัจจุบัน สถานภาพของเยรูซาเลมยังเป็นประเด็นแกนกลางประเด็นหนึ่งในความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ ระหว่าง[[สงครามอาหรับ–อิสราเอล ค.ศ. 1948|สงครามอาหรับ–อิสราเอลปี 1948]] [[เยรูซาเลมตะวันตก]]รวมอยู่ใบรรดาดินแดนที่ถูกอิสราเอลยึดและผนวกในภายหลังด้วย ส่วน[[เยรูซาเลมตะวันออก]] รวมทั้งนครเก่า ถูก[[จอร์แดน]]ยึดและผนวกในภายหลัง ประเทศอิสราเอลยึดเยรูซาเลมตะวันออกจากจอร์แดนระหว่าง[[สงครามหกวัน]]ปี 1967 แล้วผนวกเข้าเป็นเยรูซาเลมร่วมกับดินแดนแวดล้อมเพิ่มเติม กฎหมายเยรูซาเลมปี 1980 อันเป็นกฎหมายหลักพื้นฐานของอิสราเอลฉบับหนึ่ง อ้างถึงเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงอันแบ่งแยกมิได้ของประเทศ อำนาจทั้งสามฝ่ายของรัฐบาลอิสราเอลตั้งอยู่ในเยรูซาเลม รวมทั้งนัสเซต (รัฐสภาอิสราเอล) ทำเนียบนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดี และศาลสูงสุด ทว่า ประชาคมนานาชาติปฏิเสธการผนวกดังกล่าวว่าไม่ชอบด้วยกฎหมายและถือว่าเยรูซาเลมตะวันออกเป็นดินแดนของปาเลสไตน์ที่ถูกอิสราเอลยึดครอง อิสราเอลมีการอ้างสิทธิ์อธิปไตยที่เข้มแข็งกว่าเหนือเยรูซาเลมตะวันตก ประชาคมนานาชาติ นอกเหนือจากสหรัฐและสาธารณรัฐเช็ก ไม่รับรองเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของประเทศอิสราเอล และนับแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 นครดังกล่าวไม่มีสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ แม้มีการออกคำสั่งประธานาธฺบดีในสหรัฐให้ย้ายสถานเอกอัครราชทูตไปเยรูซาเลม เยรูซาเลมยังเป็นที่ตั้งของสถาบันนอกภาครัฐของอิสราเอลที่มีความสำคัญด้วย เช่น [[มหาวิทยาลัยฮีบรูแห่งเยรูซาเลม|มหาวิทยาลัยฮีบรู]] และ[[พิพิธภัณฑ์อิสราเอล]] พร้อมทั้ง[[อาคารแห่งหนังสือ]]
 
[[ไฟล์:Israel-2013(2)-Aerial-Jerusalem-Temple Mount-Temple Mount (south exposure).jpg|260px|thumb|เนินเขาพระวิหาร]]
 
==ลำดับเหตุการณ์==