หน้าหลัก
สุ่ม
ใกล้เคียง
เข้าสู่ระบบ
การตั้งค่า
เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
เปิดเมนูหลัก
ค้นหา
การเปลี่ยนแปลง
← การแก้ไขก่อนหน้า
การแก้ไขถัดไป →
บัสรา
(แก้ไข)
รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:41, 10 ธันวาคม 2560
ลดลง 204 ไบต์
,
2 ปีที่แล้ว
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
{{Infobox settlement
|official_name =
บาส
บัส
รา<ref group="ม">นิยมเรียกทั่วไปว่า
บัสราหรือ
บาสรา แม้ว่า[[การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอาหรับ]]ฉบับ[[ราชบัณฑิตยสภา]]จะให้เป็น
บัศเราะฮ์
อัลบัศเราะฮ์
หรือนักวิชาการมุสลิมบางท่านก็ใช้
บัศเราะฮฺ
อัลบัศเราะฮฺ
ก็ตาม จึงควรใช้ชื่อที่นิยมกว่าเป็นหลัก</ref>
|other_name =
บัศเราะฮ์
อัลบัศเราะฮ์
|native_name = البصرة
|native_name_lang = ar
|image_skyline = Basra-Shatt-Al-Arab.jpg
|imagesize =
|image_caption = เมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
|established_title = ตั้งเมื่อ
|established_date = พ.ศ. 1179
}} <!-- Infobox ends -->
'''
บาส
บัส
รา'''
หรือ
,
'''
บัศเราะฮ์
แบสรา
''' ({{lang-
ar
en
|
البصرة
Basra
}}
) หรือ
''
อัล-บัศเราะฮ์
'
อัลบัศเราะฮ์
'
'' ({{lang-ar|البصرة}}
) เป็นเมืองหรืออำเภอ
เอก
หลัก
ของจังหวัด
บัศเราะฮ์
บัสรา
[[ประเทศอิรัก]] ตั้งในเขต
ชะฏอลอะร็อบ หรือ
[[
ชัตต์อัลอาหรับ
ชัฏฏุลอะร็อบ
]] ริม[[อ่าวเปอร์เซีย]] เป็นที่ตั้งของมัสยิดแห่งแรกนอกคาบสมุทรอาระเบีย และศูนย์กีฬาที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลาง คือ [[
บาส
บัส
ราสปอร์ตซิตี]] ตัวเมืองอยู่ระหว่าง[[ประเทศคูเวต]]และ[[ประเทศอิหร่าน]] ชื่อเมืองมาจากคำภาษาอาหรับ بصر (บัศร์) หรือการแลเห็น เนื่องจากเมืองนี้เป็นเมืองหน้าด่านทางทะเล แต่ไม่มีท่าเรือน้ำลึกเหมือนเมืองอุมกัศร์ (أم قصر) ที่อยู่ใกล้ ๆ กัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลอิรักกำหนดให้เมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
เป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญ<ref name="Iraqi Parliament passes motion">{{cite web|title=Iraqi parliament recognizes Basra as economic capital|url=https://search4dinar.wordpress.com/2017/04/27/iraqi-parliament-recognizes-basra-as-economic-capital/}}</ref>
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Ministry of Information First World War Official Collection Q25671.jpg|thumb|ตลาดอะชัร ประมาณ พ.ศ. 2458]]
เมือง
บัศเราะห์
บัสรา
ตั้งขึ้นราว ๆ พ.ศ. 1179 ในเวลานั้นเป็นเพียงค่ายพักสำหรับชนเผ่าอาหรับ ต่อมาเคาะลีฟะฮ์[[อุมัร]]แห่ง[[จักรวรรดิรอชิดีน|รอชิดูน]] ตั้งเมืองนี้ขึ้นโดยแบ่งออกเป็นห้าตำบลด้วยกัน มีอะบู มูซา อัลอัชอะรี (أبو موسى الأشعري) เป็นเจ้าเมืองซึ่งยึดดินแดนจากคูซิสตาน (خوزستان) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศอิหร่าน ต่อมาเมื่อเคาะลีฟะฮ์อุษมานครองตำแหน่ง เมืองนี้จึงถูกยกสถานะเป็นเมืองหน้าด่าน และตั้งให้อับดุลลอห์ อิบนุลอะมีร์เป็นเจ้าเมือง ต่อมาเจ้าเมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
ได้โจมตีทำลายล้างกองทัพพระเจ้ายัซดิญะริดที่สาม (يزدجرد الثالث, ยัซดิญะริด อัษษาลิษ) กษัตริย์[[จักรวรรดิแซสซานิด|ราชวงศ์ซาซานียะฮ์]] ซึ่งนับถือ[[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]] ล่วงปี พ.ศ. 1199 อุษมานถูกสังหาร และ[[อะลี]]ขึ้นครองตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ อะลีได้ตั้งให้อุษมาน อิบนุลหะนิฟ เป็นเจ้าเมือง และต่อมาก็เปลี่ยนเป็นอับดุลลอห์ อิบนุลอับบาส จวบจนถึงการวายชนม์ของอะลีเอง อันเป็นการสิ้นสุดราชวงศ์รอชิดูน ต่อมาเมื่อรัฐคอลีฟะฮ์[[ราชวงศ์อุมัยยะฮ์|อุมัยยะฮ์]]มีอำนาจ มีอับดุลลอห์ ผู้นำทหารที่ไร้ความสามารถทางปกครองเป็นเจ้าเมือง ต่อมา[[มุอาวิยะฮ์]]สั่งถอดอับดุลลอห์ออกแล้วเปลี่ยนเป็นซิยาด บิน อะบีซุฟยาน (زياد بن أبي سفيان) ผู้ปกครองด้วยความโหดร้ายเป็นเจ้าเมือง ครั้นซิยาดถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 1207 อุบัยดุลลอห์ อิบนุลซิยาด (عبيد الله بن زياد) บุตรของซิยาดขึ้นครองอำนาจ ระหว่างนั้นเอง[[ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี|ฮุซัยน์บุตรอะลี]] ในฐานะหลานของ[[มุฮัมมัด|ศาสดามุฮัมมัด]]ได้รับความนิยมจากปวงชนทั้งหลายขึ้นมาก อุบัยดุลลอห์จึงเข้ายึดเมือง[[กูฟะฮ์]] ฮุซัยน์ส่งมุสลิม อิบน์ อะกีล (مسلم بن عقيل) ไปเป็นทูต แต่กลับถูกประหารชีวิตจนเกิด[[ยุทธการกัรบะลาอ์]]ขึ้น ผลของการยุทธในครั้งนั้นทำให้ฮุซัยน์และพรรคพวกถูกตัดศีรษะทั้งหมดจนเกิด[[อัรบะอีน|พิธีอัรบะอีน]]ขึ้นจนถึงทุกวันนี้ แต่กาลต่อมาราชวงศ์อุมัยยะฮ์ล่มสลายลงโดยการปฏิวัติ
ล่วงสมัย[[อับบาซียะฮ์|อับบาซียะฮ์]]
บัศเราะฮ์
บัสรา
เป็นศูนย์กลางการศึกษา อาทิ เป็นเมืองที่อยู่ของ[[
อิบนฺ
อิบน์
อัล-ฮัยษัม
อัลฮัยษัม
|อิบนุลฮัยษัม]] [[
อัล-ญาฮิซ
อัลญาฮิซ
]] เราะบี
อะฮ์แห่งบัศเราะฮ์
อะฮ์แห่งบัสรา
รวมถึงนักวิชาการนานาสาขาวิชา ผ่านยุครุ่งเรืองไปไม่นาน เมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
ก็ถูก
ปล้นสะดมโดย
กบฏซันจญ์ (ثورة الزنج, เตาเราะตุลซันจญ์)
เข้าปล้นสะดม
ในปี พ.ศ. 1414<ref>Andre Wink, ''Al-Hind: The Making of the Indo-Islamic World'', Vol.2, (Brill, 2002), 17. {{Subscription required |via=[[Questia]]}}</ref> และถูกทำลายล้างโดยกลุ่มมุสลิมหัวรุนแรงเกาะรอมิเฎาะฮ์ (قرامطة) ในปี พ.ศ. 1466<ref>Andre Wink, ''Al-Hind: The Making of the Indo-Islamic World'', Vol.2, 17. {{Subscription required |via=[[Questia]]}}</ref> ต่อมาราชวงศ์บูญิฮียะฮ์ (بويهية) ซึ่งเป็นราชวงศ์อิหร่านนับถือศาสนาอิสลาม[[ชีอะฮ์|นิกายชีอะฮ์]] เข้ายึดครองเมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
รวมถึงเมือง[[แบกแดด
|บัฆดาด
]] และประเทศอิรักส่วนใหญ่อีกด้วย ล่วงปี พ.ศ. 2206 [[จักรวรรดิออตโตมัน|จักรวรรดิอุษมานียะฮ์]]ยึดเมือง
บัศเราะฮ์ได้
บัสราได้
โดยระหว่าง พ.ศ. 2318-2322 ราชวงศ์ซันดียะฮ์ (زندية) เข้ายึดเมืองเป็นระยะเวลาสั้น ๆ [[สารานุกรมบริตานิกา]] รายงานว่าในปี พ.ศ. 2454 มีประชาชนชาวยิวประมาณ 4000 คน และชาวคริสต์อีก 6000 คน อาศัยในเมือง<ref>{{cite EB1911 |wstitle=Basra |volume=3 |page=489 |short=1 }}</ref> ต่อมาเข้าสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อังกฤษยึดเมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
จากจักรวรรดิอุษมานียะฮ์ได้ แล้วจัดผังเมืองให้ดีกว่าที่เป็นอยู่
ราวปี พ.ศ. 2490 ประชากรในเมือง
บัศเราะฮ์มีจำนวน
บัสรามีจำนวน
101,535 คน<ref>{{cite web |url= https://unstats.un.org/unsd/demographic/products/dyb/1950_round.htm |work=Demographic Yearbook 1955 |year= |publisher=[[Statistical Office of the United Nations]] |location=New York |title=Population of capital city and cities of 100,000 or more inhabitants }}</ref> สิบปีให้หลังประชากรเพิ่มขึ้นเป็น 219,167 คน<ref>{{cite web|title=National Intelligence Survey. Iraq. Section 41, Population|url=https://www.cia.gov/library/readingroom/docs/DOC_0001252308.pdf|publisher=CIA|format=PDF|date=1960}}</ref> จึงได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัย
บัศเราะฮ์
บัสรา
ขึ้นในปี พ.ศ. 2507 ประชากรที่มีอยู่แล้วก็เพิ่มจำนวนเรื่อยมา ต่อมาเกิด[[สงครามอิรัก-อิหร่าน]] ขึ้น จนประชากรลดลงมาก ระหว่างนี้เองมียุทธการที่สำคัญ อาทิ ปฏิบัติการเราะมะฎอน และปฏิบัติการกัรบะลาอ์ 5 [[ซัดดัม ฮุสเซน|ศอดดาม ฮุซัยน์]] ก็ขึ้นครองอำนาจกดขี่ประชาชน แม้จะมีการกบฏสักเท่าใด ศอดดามก็ใช้ความรุนแรงจัดการทั้งหมด
ล่วงเข้า[[สงครามอิรัก]]เมื่อปี พ.ศ. 2546 เมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
ถูกกองทัพสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรยึดใช้เป็นฐานทำการ เมื่อวันที่ 21 เมษายนปีถัดมา มีการทิ้งระเบิดทั่วเมืองจนมีคนตายไป 74 คน ในใจกลางเมืองมีกลุ่มที่สนับสนุนรัฐบาลอิรักอยู่อย่างเหนียวแน่นแม้ว่าจะมีการต่อต้านโดยกลุ่มมุสลิม[[ซุนนี|นิกายซุนนี]]และ[[ชาวเคิร์ด]] ในการนี้มีผู้สื่อข่าวถูกลักพาตัวและสังหารด้วย<ref>{{cite web|title=Steven Vincent|url=https://cpj.org/killed/2005/steven-vincent.php|publisher=Committee to Protect Journalists|date=2005}}</ref> ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ทหาร[[สเปเชียลแอร์เซอร์วิส|กรมอากาศโยธินแห่งสหราชอาณาจักร]]สองนายปลอมตนเป็นพลเรือนชาวอาหรับ เมื่อถูกตรวจค้นโดยด่านตรวจ ทหารทั้งสองก็ยิงตำรวจได้รับบาดเจ็บเสียชีวิตและถูกจับกุมส่งเรือนจำจังหวัด
บัศเราะฮ์
บัสรา
เป็นผลให้กองทัพอังกฤษตัดสินใจบุกเรือนจำเพื่อช่วยเหลือ ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก<ref>{{cite web |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/4262336.stm |title=UK soldiers 'freed from militia' |date=20 September 2005 |publisher=BBC |accessdate=17 March 2012}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.sfgate.com/cgi-bin/article.cgi?f=/c/a/2005/09/20/MNGS5EQNGN1.DTL |title=British smash jail walls to free 2 arrested soldiers |date=20 September 2005 |publisher=San Francisco Gate |accessdate=17 March 2012}}</ref> ล่วง พ.ศ. 2550 อำนาจการปกครองทั้งหมดกลับคืนสู่รัฐบาลอิรักหลังจากที่ศอดดาม ฮุซัยน์ ถูกประหารชีวิต<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/middle_east/7146507.stm|title=UK troops return Basra to Iraqis|date=16 December 2007|publisher=BBC News | accessdate=1 January 2010}}</ref> เมืองได้รับความเสียหายอย่างมาก แต่ก็ถูกฟื้นฟูขึ้นมาในภายหลังจนกระทั่งมี[[
บาส
บัส
ราสปอร์ตซิตี|ศูนย์กีฬา
บาส
บัส
ราสปอร์ตซิตี]]
== ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ==
[[ไฟล์:Basra Times Square Shopping centre.jpg|thumbnail|ศูนย์การค้า
บาส
บัส
ราไทม์สแควร์]]
เมือง
บัศเราะฮ์
บัสรา
ตั้งอยู่ในเขต
ชะฏอลอะร็อบ
ชัฏฏุลอะร็อบ
หรือบริเวณที่[[แม่น้ำไทกริส]]และ[[แม่น้ำยูเฟรทีส]]บรรจบกัน บริเวณเมืองประกอบไปด้วยคลองชลประทานทำให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรม และในอดีตก็ใช้ในการขนส่งสินค้าด้วย ตัวเมืองตั้งห่างจาก[[อ่าวเปอร์เซีย]]ประมาณ {{convert|110|km|mi|sigfig=2|abbr=on}} สภาพภูมิอากาศเป็นเขต[[ทะเลทราย]]ร้อน หรือ ''BWh'' ตาม[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน]] ซึ่งคล้ายกับบริเวณข้างเคียง ถึงกระนั้นตัวเมืองมีฝนตกมากกว่าพื้นที่ตอนในแผ่นดิน ระหว่างช่วงฤดูร้อน คือเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม อุณหภูมิจะขึ้นสูงถึง {{convert|50|°C|°F|abbr=on}} ส่วนในฤดูหนาวจะมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยที่ {{convert|20|°C|°F|abbr=on}} ในบางคืนของฤดูหนาว อุณหภูมิอาจลดต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง
{{Weather box
|metric first=yes
|single line=yes
|location=
บัศเราะฮ์
บัสรา
|Jan record high C=34
|Feb record high C=29
Potapt
116,517
การแก้ไข