ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าสการะวุตพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{มีอักษรพม่า}}
 
'''พระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพี'''<ref name="พม่า118">''พระราชพงศาวดารพม่า'', หน้า 118</ref> ({{my|သုရှင်တကာရွတ်ပိ}}, {{IPA-my|θṵʃɪ̀ɴ dəɡàjʊʔpḭ|pron}}, '''Takayutpi''' {{my|တကာရွတ်ပိ}} ''ตะก่ายุปิ๊''; 1511 – 1539) หรือในนวนิยายเรื่อง [[ผู้ชนะสิบทิศ]] พงศาวดารมอญพม่าเรียก ว่า'''พระเจ้าสการะวุตพีพะธิโรราชา'''<ref>''ประชุมพงศาวดารเล่ม กษัตริย์องค์2'', หน้า 35</ref> เป็นพระเจ้าหงสาวดีพระองค์ที่ 18 และองค์พระองค์สุดท้ายแห่ง [[อาณาจักรหงสาวดี]] ในพม่าระหว่าง ค.ศ. 1526 ถึง 1539. โดยพระองค์ขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อพระชนมายุเพียง 15 พรรษาซึ่ง รัชสมัยของพระองค์ตรงกับช่วงอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญที่เคยยิ่งใหญ่เริ่มเสื่อมอำนาจลง และพระองค์ไม่เคยปกครองให้ขุนนางเกรงกลัวในอีก 13 ปีต่อมา เนื่องจากกษัตริย์หนุ่มอย่างพระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีไร้ประสบการณ์และความสามารถทำให้อาณาจักรหงสาวดีที่สถาปนาตั้งแต่ ค.ศ. 1287 เสียให้แก่อาณาจักรเล็ก ๆ อย่าง [[อาณาจักรตองอู]] ของชาวพม่า
 
== พระราชประวัติ ==
พระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีประสูติเมื่อ ค.ศ. 1511 ที่ กรุง[[หงสาวดี]] เป็นพระราชโอรสองค์พระองค์ใหญ่ใน [[พญารามที่ 2]] หรือ(ဗညားရံ ''บะญาหยั่น'พระเจ้าบินยรานที่ 2''' ({{lang-roman|Binnya Ran II}}) กษัตริย์องค์พระองค์ที่ 17 โดยมีพระราชอนุชาคือ [[สมิงทอ]] ({{lang-roman|Smim Htaw}}သမိန်ထော) พระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดาเมื่อพระชนมายุเพียง 15 พรรษา<ref name="พม่า118"/> ซึ่งพญารามที่ 2 พระราชบิดานั้นเป็นกษัตริย์ที่ไม่ได้รับความนิยมจากประชาชน
 
เพราะการขาดสภาวะผู้นำของพระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีเป็นการเปิดโอกาสให้ [[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]] กษัตริย์หนุ่มจาก ยุวกษัตริย์จาก[[อาณาจักรตองอู]] อาณาจักรเล็ก ๆ ซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือและขุนศึกคู่พระทัยของพระองค์อย่าง [[พระเจ้าบุเรงนอง|บุเรงนอง]] กรีธาทัพลงมาโจมตีอาณาจักรหงสาวดีถึง 3 ครั้งคือ ค.ศ. 1534, 1537 และ 1538 โดยเฉพาะใน ค.ศ. 1538 พระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีขาดแม่ทัพที่มีความสามารถและพระองค์ไม่มีพระทัยที่จะสู้รบรวมถึง [[สอพินยา]] ({{lang-roman|Sawစောဗညား Binnya}}''ซอบะญา'') เจ้าเมือง[[เมาะตะมะ]] ผู้เป็นพระเทวัน (พี่เขย) มิได้ส่งกำลังทหารมาช่วยจึงหนีไปพึ่งเมือง[[แปร]] ซึ่งขณะนั้นปกครองโดย [[พระเจ้านรปติแห่งแปร|พระเจ้านรปติ]] ({{lang-roman|Narapati of Prome}}နရပတိ) หรือในนวนิยายเรื่อง[[ผู้ชนะสิบทิศ]]เรียก '''พระเจ้านรบดี''' ผู้เป็นพระเทวัน (พี่เขย) อีกพระองค์หนึ่ง ในที่สุดตองอูก็เข้ายึดหงสาวดีได้โดยไม่เสียเลือดเนื้อทำให้อาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญที่รุ่งเรืองมากว่า 252 ปีต้องล่มสลายลง ซึ่งพันธมิตรอย่าง [[รัฐฉาน]] และพระเจ้านรปติได้พยายามสถาปนาพระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีขึ้นเป็นกษัตริย์อีกครั้ง แต่พระองค์ได้ปฏิเสธพร้อมขี่ช้างศึกออกจากเมืองแปรไปพร้อมกับทหารจำนวนหนึ่งกระทั่งถึง [[สามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดี]] ที่เมือง [[Maubin]] พระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีก็ประชวรอย่างกะทันหันและสวรรคตที่เมืองนี้
 
หลังจากพระเจ้าทากายุตปีสการะวุตพีสวรรคตแล้วสอพินยาได้ประกาศเอกราชและตั้งตนเป็นกษัตริย์แห่งพระเจ้าเมาะตะมะ กระทั่งพ่ายแพ้และถูกสังหารโดยกองทัพตองอูเมื่อ ค.ศ. 1541 เป็นอันสิ้นสุด [[สงครามตองอู—หงสาวดี]] ที่กินเวลายาวนานถึง 7 ปี หลังการสวรรคตของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ใน ค.ศ. 1550 [[สมิงสอตุต]]และ[[สมิงทอ]]ได้ตั้งตนเป็นกษัตริย์ของชาวมอญ แต่ในที่สุดสมิงทอก็ถูกไล่ล่าและสังหารโดยกองทัพตองอูภายใต้การนำของ [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ที่ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้เมื่อ ค.ศ. 1552
 
== อ้างอิง ==
{{birth|1511}}
; เชิงอรรถ
{{death|1539}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เรียงลำดับ|ทากายุตปี}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ประชุมพงศาวดารเล่ม 2 (ประชุมพงศาวดารภาค 1 ตอนปลาย และภาค 2)| URL = http://www.finearts.go.th/olddata/files/prachumphngsaawdaar_elm_2.pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = องค์การค้าของคุรุสภา| ปี = 2506| จำนวนหน้า = 336| หน้า = 35-38}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารพม่า | จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2550| ISBN = 978-974-7088-10-6| จำนวนหน้า = 1136| หน้า = 118-120}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|ทากายุตปีสการะ}}
{{birthlifetime|1511|1539}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์หงสาวดี]]