ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศสกอตแลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 66:
'''สกอตแลนด์''' ({{lang-en|Scotland}}; {{lang-gd|Alba}} {{IPA|[ˈal̪ˠapə]}} ''อาละเปอะ'') เป็น[[ชาติต่างๆในสหราชอาณาจักร|ชาติของชนชาวสก็อต]]และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศ[[สหราชอาณาจักร]] โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะ[[บริเตนใหญ่]]<ref name="Stats 1">{{cite web|url=http://www.ons.gov.uk/ons/guide-method/geography/beginner-s-guide/administrative/the-countries-of-the-uk/index.html|title=The Countries of the UK|publisher=[[Office for National Statistics]] |accessdate=24 June 2012}}</ref><ref name="Country">{{cite web |url=http://www.number10.gov.uk/Page823 |title=Countries within a country |accessdate=24 August 2008 |work=10 Downing Street |quote=The United Kingdom is made up of four countries: England, Scotland, Wales and Northern Ireland|archiveurl=https://web.archive.org/web/20100416083521/http://www.number10.gov.uk/Page823|archivedate=16 April 2010}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.iso.org/iso/newsletter_i-9.pdf |format=PDF |title=ISO 3166-2 Newsletter Date: 28 November 2007 No I-9. "Changes in the list of subdivision names and code elements" (Page 11) |accessdate=31 May 2008 |work=[[International Organization for Standardization]] codes for the representation of names of countries and their subdivisions – Part 2: Country subdivision codes |quote=SCT Scotland ''country''}}</ref> มีพรมแดนร่วมกับ[[ประเทศอังกฤษ]]ทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วย[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] ทางตะวันออกเป็น[[ทะเลเหนือ]] และทิศตะวันตกเฉียงใต้จด[[ช่องแคบเหนือ]]และ[[ทะเลไอร์แลนด์]] นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ<ref name="Scottish Executive">{{cite web |title=Scottish Executive Resources |work=Scotland in Short |url=http://www.scotland.gov.uk/Resource/Doc/923/0010669.pdf |format=PDF |date=17 February 2007 |publisher=Scottish Executive |accessdate=14 September 2006}}</ref>
 
[[เอดินบะระ]] เมืองหลวงและนครใหญ่สุดที่สุด[[รายชื่อเมืองในสกอตแลนด์เรียงตามลำดับประชากร|อันดับสองของประเทศ]] เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ปัญญาทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป [[กลาสโกว์]] นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์<ref>{{cite web|title=A quick guide to glasgow|url=http://glasgowcitycentre.co.uk/places-to-go/shops/a-quick-guide-to-glasgow/|publisher=Glasgow City Centre|accessdate=20 June 2012}}</ref> เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของ[[เขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์]] น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วย[[ทะเลแอตแลนติก]]เหนือและ[[ทะเลเหนือ]]<ref>{{cite book |title=The Scottish Adjacent Waters Boundaries Order |year=1999 |publisher=The Stationery Office Limited |url=http://www.opsi.gov.uk/si/si1999/19991126.htm |location=London |isbn=0-11-059052-X| accessdate=20 September 2007 }}</ref> ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดใน[[สหภาพยุโรป]] ทำให้เมือง[[แอเบอร์ดีน]] นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป<ref>{{cite web|url=http://www.aberdeencity.gov.uk/equalitydiversity/eqd_ourcity.asp|publisher= Aberdeen City Council|title=Our City|quote=Aberdeen's buoyant modern economy – is fuelled by the oil industry, earning the city its epithet as 'Oil Capital of Europe'|accessdate=1 December 2009|archiveurl=https://web.archive.org/web/20100922092924/http://www.aberdeencity.gov.uk/EqualityDiversity/eqd_OurCity.asp|archivedate=22 September 2010}}</ref>
 
เดิม[[ราชอาณาจักรสกอตแลนด์]]เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษ จนเมื่อ ค.ศ. 1603 ที่เมื่อ[[พระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์]]ครองบัลลังก์อังกฤษโดยทรงใช้พระนามว่า พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ จึงมีผลให้ทั้งสองประเทศมีพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน เรียกว่า [[การรวมราชบัลลังก์]] (Union of the Crowns) อย่างไรก็ตาม รัฐบาลของทั้งสองยังคงแยกจากกันอยู่จนกระทั่งวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1707]] ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่|สมเด็จพระราชินีแอนน์]] อังกฤษและสกอตแลนด์ได้รวมตัวกันด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ตาม[[พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707]] มีผลให้รวมเข้ากับ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]] และกลายเป็น[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]<ref>[http://www.mcducation.org/th/scotland.php ข้อมูลประเทศสกอตแลนด์]</ref>
 
ระบบกฎหมายของสกอตแลนด์ยังแยกจากระบบกฎหมายของอังกฤษ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือ และสกอตแลนด์อยู่ในเขตอำนาจศาลต่างหาก ทั้งในทางกฎหมายมหาชนและเอกชน<ref>Collier, J. G. (2001) [http://assets.cambridge.org/052178/2600/sample/0521782600ws.pdf ''Conflict of Laws (Third edition)''](pdf) [[Cambridge University Press]]. "For the purposes of the English [[conflict of laws]], every country in the world which is not part of [[England and Wales]] is a foreign country and its foreign laws. This means that not only totally foreign independent countries such as France or Russia&nbsp;... are foreign countries but also [[British Colonies]] such as the [[Falkland Islands]]. Moreover, the other parts of the United Kingdom{{spaced ndash}}Scotland and Northern Ireland{{spaced ndash}}are foreign countries for present purposes, as are the other [[British Islands]], the [[Isle of Man]], [[Jersey]] and [[Guernsey]]."</ref> การคงไว้ซึ่งสถาบันกฎหมาย การศึกษาและศาสนาของตน แยกจากสถาบันที่เหลือของสหราชอาณาจักร ล้วนส่งผลให้มีความต่อเนื่องของวัฒนธรรมสกอตแลนด์และอัตลักษณ์แห่งชาตินับแต่การรวมเข้าเป็นสหภาพ ค.ศ. 1707<ref name="administrative control">Devine, T. M. (1999), ''The Scottish Nation 1700–2000'', P.288–289, ISBN 0-14-023004-1 ''"created a new and powerful ''local state'' run by the Scottish bourgeoisie and reflecting their political and religious values. It was this local state, rather than a distant and usually indifferent Westminster authority, that in effect routinely governed Scotland"''</ref> ใน ค.ศ. 1999 [[รัฐสภาสกอตแลนด์]] สภานิติบัญญัติแบบสภาเดี่ยวที่จัดตั้งขึ้น(ใหม่)ตาม[[กระบวนการถ่ายโอนอำนาจของส่วนกลางให้ส่วนท้องถิ่น]] และการลงประชามติ ค.ศ. 1997 เปิดประชุมใหม่โดยมีอำนาจเหนือกิจการภายในหลายด้านหลังการลงประชามติ ค.ศ. 1997 ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2011 [[พรรคชาติสกอตแลนด์]]ชนะฝ่ายข้างมากในรัฐสภาสกอตแลนด์ ทำให้มีนำไปสู่[[การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557|การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์]] ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 2014 ซึ่งประชากรสกอตแลนด์ข้างมากปฏิเสธ<ref>{{cite web|url=http://news.sky.com/story/1067962/scotland-names-the-day-for-independence-vote |title=Scotland: Independence Referendum Date Set |publisher=BSkyB |date=21 March 2013 |accessdate=4 May 2013}}</ref><ref>{{cite news|last=Gardham|first=Magnus|title=Holyrood election 2011: Alex Salmond: Referendum on Scottish independence by 2015|url=http://www.dailyrecord.co.uk/news/politics-news/2011/05/02/alex-salmond-referendum-on-scottish-independence-by-2015-86908-23102061/|accessdate=14 October 2011|newspaper=Daily Record|location=Scotland|date=2 May 2011}}</ref>
 
สกอตแลนด์เป็นชาติสมาชิกสภาบริเตน–ไอร์แลนด์<ref>{{cite web|url=http://www.britishirishcouncil.org/member-administrations/scotland-alba |title=Scotland / Alba |publisher=British-Irish Council |accessdate=4 May 2013}}</ref> และสมัชชารัฐสภาบริเตน–ไอร์แลนด์