ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สากลศักราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ใช่เหรอ
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สามัญศักราช''' หรือ '''สากลศักราช''' ({{lang-en|Common Era: CE}}) หรือ '''ปัจจุบันศักราช''' ({{lang-en|Current Era: CE}}) เป็นระบบนับปี ([[ปีปฏิทิน]]) สำหรับ[[ปฏิทินเกรกอเรียน]]และ[[ปฏิทินจูเลียน]] ซึ่งนับปีตั้งแต่เริ่มยุคปัจจุบันเป็นต้นมา อันตรงกับ[[คริสต์ศักราช]] (ค.ศ.) 1 ส่วนปีก่อนหน้านี้เรียกว่า '''ปีก่อนสามัญศักราช''' (before the Common/Current Era: BCE) ระบบสามัญศักราชสามารถใช้แทนระบบ[[ศักราชไดโอไนซัส]] (Dionysian era) ซึ่งแบ่งศักราชออกเป็น ค.ศ. (Christian Era: CE; anno Domini: AD; หรือ year of the/Our Lord)<ref name="Anno Domini">{{cite encyclopedia |url = http://www.m-w.com/dictionary/Anno%20Domini |title = Anno Domini |encyclopedia = Merriam Webster Online Dictionary |year = 2003 |publisher = Merriam-Webster |quote = Etymology: Medieval Latin, in the year of the Lord |accessdate = 2011-10-04}}</ref> กับ [[ก่อน ค.ศ.]] (before Christ: BC) ฉะนั้น ทั้งระบบสามัญศักราชและระบบศักราชไดโอไนซัสจึงเท่าเทียมกันในทางจำนวน เป็นต้นว่า สามัญศักราช {{currentyear}} ย่อมตรงกับ ค.ศ. {{currentyear}} และ ปีที่ 400 ก่อนสามัญศักราช ย่อมตรงกับ ปีที่ 400 ก่อน ค.ศ.<ref name="Anno Domini" /><ref>{{cite web |url=http://www.religioustolerance.org/ce.htm |title=Controversy over the use of the "CE/BCE" and "AD/BC" dating notation/ |publisher=Ontario Consultants on Religious Tolerance|accessdate=2011-11-12}}</ref><ref>{{cite dictionary |title=Common Era |dictionary=American Heritage Dictionary of the English Language |edition = 3rd |date=1992 |publisher=Houghton Mifflin |location=Boston}}</ref>{{efn|Two separate systems that also do not use religious titles, the [[Astronomical year numbering|astronomical system]] and the [[ISO 8601]] standard, do use a year zero. The year 1 BCE (identical to the year 1 BC) is represented as 0 in the astronomical system, and as 0000 in ISO 8601. Presently, ISO 8601 dating requires use of the Gregorian calendar for all dates, however, whereas astronomical dating and Common Era dating allow use of either the Gregorian or Julian calendars.}} ระบบสามัญศักราชที่ใช้กับปฏิทินเกรกอเรียนนี้เป็นระบบ[[ปฏิทินตามกฎหมาย]] (civil calendar) ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลกปัจจุบัน และเป็นมาตรฐานทั่วโลกที่สถาบันระหว่างประเทศ เช่น [[สหประชาชาติ]] และ[[สหภาพไปรษณีย์สากล]] ยึดถือมานานหลายทศวรรษแล้ว
'''สากลศักราช''' ({{lang-en|Common Era, Current Era หรือ Christian Era; ย่อเป็น CE}}) เป็นการกำหนดศักราชทางเลือก ซึ่งเดิมริเริ่มโดยไดโอนิซุส เอ็กซิกุอุสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ในอดีตเคยคิดกันว่า สากลศักราชกับ[[คริสต์ศักราช]]เหมือนกัน<ref>
 
{{cite web | url=http://asa.usno.navy.mil/SecM/Glossary.html#calendar-gregorian | work=The Astronomical Almanac: Online! | title=calendar, Gregorian | year=2010 | publisher=[[United States Naval Observatory]] | accessdate=2011-05-18 }}
การระบุปีด้วยสามัญศักราชสามารถย้อนหลังไปถึง ค.ศ. 1615 อันเป็นเวลาที่สามัญศักราชปรากฏเป็นครั้งแรกในหนังสือของ[[โจฮันเนส เคปเลอร์]] (Johannes Kepler) ด้วยชื่อภาษาละตินว่า "vulgaris aerae" (สามัญศักราช)<ref name="LiveScience">{{cite web|last1=Coolman|first1=Robert|title=Keeping Time: The Origin of B.C. & A.D.|url=https://www.livescience.com/45510-anno-domini.html|website=Live Science|accessdate=11 November 2017}}</ref><ref name=VulgarisAerae1 /> และต่อมาปรากฏในชื่อภาษาอังกฤษว่า "Vulgar Era" (สามัญศักราช) เมื่อ ค.ศ. 1635 ส่วนชื่อ "Common Era" (สามัญศักราช) พบได้เก่าแก่ที่สุดใน ค.ศ. 1708,<ref name=1708CommonInEnglish>{{cite book |title=first so-far-found use of ''common era'' in English (1708) |url=https://books.google.com/books?id=D_wvAAAAYAAJ&q=%22common+era%22#v=onepage&q=%22common%20era%22&f=false |publisher=Printed for H. Rhodes |year=1708 |accessdate=2011-05-18}} {{cite book |title=The History of the Works of the Learned |volume=10 |page=513 |location=London |date=January 1708}}</ref> ครั้นกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 สามัญศักราชเป็นที่ใช้งานแพร่หลายมากขึ้นในหมู่นักวิชาการชาวยิว จนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สามัญศักราชและปีก่อนสามัญศักราชกลายเป็นที่นิยมใช้ในงานวิชาการและวิทยาศาสตร์ ทั้งใช้งานทั่วไปมากขึ้นในเหล่านักเขียนและนักพิมพ์ที่ต้องการเน้นย้ำแนวคิด[[ฆราวาสนิยม]]หรือความอ่อนไหวต่อผู้มิใช่คริสต์ศาสนิกชนด้วยการไม่อ้างถึง[[พระเยซู]]ว่า [[ไครสต์]] (Christ) หรือ [[ดอมินัส]] (Dominus) อย่างโจ่งแจ้ง โดยหันไปย่อชื่อ "คริสต์ศักราช" ว่า "ค.ศ." แทน<ref>{{cite news |url=https://www.highbeam.com/doc/1P2-1620546.html |title=BCE date designation called more sensitive |author=Andrew Herrmann |publisher=Chicago Sun-Times |date=27 May 2006 |quote=Herrmann observes, "The changes – showing up at museums, in academic circles and in school textbooks – have been touted as more sensitive to people of faiths outside of Christianity." However, Herrmann notes, "The use of BCE and CE have rankled some Christians" |accessdate=2016-09-18}}</ref><ref>{{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=UJ9PYdzKf90C&pg=PA41|work=Westminster dictionary of theological terms |title=Common Era entry |first=Donald K |last=McKim |year=1996 |accessdate=2011-05-18 |isbn=978-0-664-25511-4}}</ref>
</ref><ref>
{{cite book |quote=The Gregorian calendar today serves as an international standard for civil use....Years are counted from the initial epoch defined by Dionysius Exiguus |last=Doggett |first=L. E. |year=1992 |chapter=Calendars |editor=P. K. Seidelmann |title=Explanatory Supplement to the Astronomical Almanac |location=Sausalito, California |publisher=University Science Books |page=581 |isbn=0-935702-68-7}}
</ref> วันที่เกิด 1 ปีก่อนสากลศักราชระบุโดยใช้'''ก่อนสากลศักราช''' ทั้งสากลศักราชและคริสต์ศักราชไม่ใช้ปีที่ศูนย์ และทั้งสองเทียบเท่ากัน เช่น "สากลศักราช 2012" เทียบเท่ากับ "ค.ศ. 2012" และ "ก่อนสากลศักราช 399" ตรงกับ "399 ปีก่อน ค.ศ."
 
== อ้างอิง ==
{{Reflist|2|refs=<ref name=VulgarisAerae1>{{cite web|url=http://www.worldcat.org/title/joannis-keppleri-eclogae-chronicae-ex-epistolis-doctissimorum-aliquot-virorum-suis-mutuis-quibus-examinantur-tempora-nobilissima-1-herodis-herodiadumque-2-baptismi-ministerii-christi-annorum-non-plus-2-14-3-passionis-mortis-et-resurrectionis-dn-n-iesu-christi-anno-aerae-nostrae-vulgaris-31-non-ut-vulgo-33-4-belli-iudaici-quo-funerata-fuit-cum-ierosolymis-templo-synagoga-iudaica-sublatumque-vetus-testamentum-inter-alia-commentarius-in-locum-epiphanii-obscurissimum-de-cyclo-veteri-iudaeorum/oclc/62188677|title=Earliest-found use of "vulgaris aerae" (Latin for Common Era) (1615)
{{รายการอ้างอิง}}
|accessdate=2011-05-18}}{{cite book|quote=anno aerae nostrae vulgaris|author=[[Johannes Kepler]]|title=Joannis Keppleri Eclogae chronicae: ex epistolis doctissimorum aliquot virorum & suis mutuis, quibus examinantur tempora nobilissima: 1. Herodis Herodiadumque, 2. baptismi & ministerii Christi annorum non plus 2 1/4, 3. passionis, mortis et resurrectionis Dn. N. Iesu Christi, anno aerae nostrae vulgaris 31. non, ut vulgo 33., 4. belli Iudaici, quo funerata fuit cum Ierosolymis & Templo Synagoga Iudaica, sublatumque Vetus Testamentum. Inter alia & commentarius in locum Epiphanii obscurissimum de cyclo veteri Iudaeorum.|publisher=Francofurti:Tampach|language=Latin
|year=1615}}</ref>
>}}
 
[[หมวดหมู่:วิทยาการลำดับเวลา]]