ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผ้าขาวม้า"
→ภาคอีสาน
== ผ้าขาวม้าในภาคต่างๆ ==
=== ภาค
ภาคเหนือ จะเรียกผ้าขาวม้าว่า ผ้าหัว ผ้าตะโก้งหรือตาโก้ง ซึ่งจะหมายถึงผ้าลายตาราง ผ้าเตี่ยว▼
# <u>ผ้าขาวม้าพระนครศรีอยุธยา</u> ผ้าขาวม้าผืนเล็กใช้ทอผืนแคบ และจะมีบางผืนที่ทอผืนใหญ่เป็นพิเศษเอาไว้สำหรับตัดเป็นเสื้อผ้า หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ลวดลายคละสลับกันเป็นตารางหมากรุกประมาณครึ่งนิ้ว และมีสองสีสลับด้าน ด้านตามยาวของปลายทั้งสองข้าง ทำเป็นลายริ้วสลับสีกัน เช่น ขาวแดง ขาวแดง แดงดำ ขาวน้ำเงิน▼
# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดนครสวรรค์</u> จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่บอกว่าผ้าขาวม้ามักจะทอกันอยู่แถบตำบลบ้านไร่ อำเภอลาดยาว และอีกที่หนึ่งที่นิยมทอในปัจจุบัน บ้านตะเคียนเลื่อน ตำบลเกาะหงส์ อำเภอเมือง สีของผ้าขาวม้าจะเป็นสีที่ตัดกันทอเป็นลายตาสก๊อต นิยมใช้เส้นด้ายฝ้ายในการทอผ้าขาวม้า เพราะฝ้ายจะมีความนิ่มเนื้อละเอียด▼
1) ผ้าขาวม้าจังหวัดแพร่ ปัจจุบันการทอผ้าขาวม้าของจังหวัดแพร่ มักจะพบในพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอสูงเม่น อำเภอสอง และอำเภอร้องกวาง การทอลักษณะแบบ “จก” ที่บริเวณของผ้าขาวม้าด้วย เรียกว่า “ผ้าขาวม้ามีเชิง” เชิงของผ้าขาวม้าจะมีเทคนิคการจกลวดลายเพิ่มเติมเข้าไปในตัวผ้า ส่วนใหญ่จะเป็นลายหมากรุก หรือลวดลายเรขาคณิตทั่วไป ส่วนลายที่จกจะเป็นลายสัตว์ตามคตินิยม ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละกลุ่มชน เช่น ลายนก ลายช้าง ลายม้า เป็นต้น▼
# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดกาญจนบุรี</u> จะมีสีสันสดใสหลากสีด้วยกัน ผ้าขาวม้าผืนหนึ่งมักจะใช้สีที่ทอสลับกันประมาณ 4 สี สำหรับสีของเส้นไหมที่ทอเมื่อ 2 สีขดไปเกิดซ้อนกันก็จะทำให้ได้สีใหม่ขึ้นมา ทำให้มีสีสันสวยงามมากขึ้น สำหรับผ้าขาวม้าของจังหวัดกาญจนบุรีมิได้มีเพียงลวดลายเดียวที่มีหลากหลายลวดลาย ซึ่งให้ความงดงามต่างจากถิ่นอื่น▼
# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดชัยนาท</u> จะมีลักษณะเป็นผ้าทอด้วยไหมประดิษฐ์ด้วยโทเรและฝ้ายออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ แต่ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะนิยมทอด้วยโทเร เป็นลายสก๊อต ลายทาง หรือลายสี่เหลี่ยม และผ้าขาวม้าของตำบลเนินขาม อำเภอหินตามีชื่อเรียกว่า “ผ้าขาวม้า 5 สี” คือ สีแดง เหลือง ส้ม เขียว ขาว โดยจะการย้อมผ้าจะทำเช่นเดียวกันกับผ้ามัดหมี่ คือ การมัดแล้วย้อมเป็นสีต่างๆ▼
2) ผ้าทอจังหวัดน่าน การทอผ้าของชาวน่านมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังปรากฏภาพฝาผนังในวัดภูมินทร์ ผ้าขาวม้าชาวน่านจะเรียกกันว่า “ผ้าตะโก้ง” ส่วนมากมักนิยมทอด้วยฝ้าย เส้นฝ้ายนั้นทำเองตั้งแต่ปั่นฝ้าย ย้อมสี และสีที่ใช้ทอมักจะเป็นสีจากเปลือกไม้กลัด ไม้ประดู่ มะเกือ ใบสัก เป็นต้น เดิมจะนิยมทอผ้าขาวม้าเป็นสีแดงดำ ซึ่งเป็นสีดั้งเดิม แต่ปัจจุบันนิยมทอผ้าขาวม้าให้มีสีคลาสสิคมากยิ่งขึ้น โดยเน้นสีเขียว ฟ้า น้ำตาล เป็นสีที่กลมกลืนกับธรรมชาติ บริเวณชายผ้ามักจะจกลายช้าง ลายม้า ลายเจดีย์ ลายยกดอกลวดลายที่ทอเน้นเกี่ยวกับความเชื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ใช้ ผ้าทอของจังหวัดน่านจะคล้ายคลึงกับจังหวัดแพร่ แต่จะแตกต่างกับผ้าขาวม้าของที่อื่นตรงบริเวณเชิงผ้าที่มีการจกลายเพิ่มเติม แต่ปัจจุบันกลุ่มทอผ้าของจังหวัดต่างๆ ก็มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การทอผ้าของจังหวัดแพร่และน่านจึงมีการถ่ายทอดความรู้ไปให้จังหวัดอื่นๆ บางพื้นที่จึงมีการทอผ้าขาวม้าและจกลายบริเวณเชิงผ้าเพิ่มเติมด้วย จัดว่าเป็นการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมอีกทางหนึ่ง▼
# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดลพบุรี</u> ณ อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี จัดได้ว่าเป็นแหล่งทอดผ้าพื้นเมืองที่เรียกได้ว่าเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลักษณะผ้าดั้งเดิมของอำเภอบ้านหมี่จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะชาวอำเภอบ้านหมี่เป็นชาวไทพวนที่อพยพมาจากประเทศลาว ดังนั้นผ้าขาวม้าอำเภอบ้านหมี่จึงถือว่าเป็นผ้าความม้าที่มีลวดลายสีสันสวยงาม และเป็นผลงานของผ้าทอมือที่ประณีตมาก▼
# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดราชบุรี</u> ผ้าขาวม้าจังหวัดราชบุรี ส่วนใหญ่จะทออยู่ 2 ลวดลาย คือ ลายหมากรุก และลายตาปลา เป็นผ้าขาวม้าที่สวยงามเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ราคาถูก และสีไม่ตก สำหรับผ้าขาวม้าของจังหวัดราชบุรีจะรู้จักการในนาม “ผ้าทอบ้านไร่” แต่ในปัจจุบันผ้าขาวม้าของจังหวัดราชบุรีมีชื่อเสียงโด่งดังมาก จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของคนรุ่นใหม่ ที่มีการพัฒนาสี ลวดลาย รูปแบบ ให้ผ้าขาวม้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยมากขึ้นในชื่อ “Pakamian”▼
=== ภาคอีสาน ===
6) ผ้าขาวม้าจังหวัดยโสธร บ้านหัวเมือง ตำบลหัวเมือง อำเภอชนะชัย จังหวัดยโสธร เป็นหมู่บ้านคนขยัน ตั้งอยู่ในทุ่งกว้าง เขตรอยต่อทุ่งกุลาร้องไห้ ชาวบ้านได้รับการสนับสนุนจากประธานกลุ่มแม่บ้าน หลังจากเสร็จสิ้นฤดูการทำนาหันมาทอผ้าขาวม้า ทอผ้าห่ม ซึ่งเป็นงานทอในขั้นพื้นฐาน เพื่อเก็บไว้ใช้เองในครอบครัว และใช้เป็นของฝากของที่ระลึกเล็กๆ น้อยๆ เมื่อเหลือก็นำมาจำหน่าย ชาวบ้านรวมกลุ่มกันได้เหนียวแน่นจึงได้รับการส่งเสริมจากสำนักงานพัฒนาชุมชน และมีการพัฒนาในด้านการตลาดมากขึ้น (ข่าวสด. วันที่ 12 ตุลาคม 2542 : 28)
=== ภาค
ภาคกลาง เรียก
▲ภาคเหนือ จะเรียกผ้าขาวม้าว่า ผ้าหัว ผ้าตะโก้งหรือตาโก้ง ซึ่งจะหมายถึงผ้าลายตาราง ผ้าเตี่ยว
▲# <u>ผ้าขาวม้าพระนครศรีอยุธยา</u> ผ้าขาวม้าผืนเล็กใช้ทอผืนแคบ และจะมีบางผืนที่ทอผืนใหญ่เป็นพิเศษเอาไว้สำหรับตัดเป็นเสื้อผ้า หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ลวดลายคละสลับกันเป็นตารางหมากรุกประมาณครึ่งนิ้ว และมีสองสีสลับด้าน ด้านตามยาวของปลายทั้งสองข้าง ทำเป็นลายริ้วสลับสีกัน เช่น ขาวแดง ขาวแดง แดงดำ ขาวน้ำเงิน
▲# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดนครสวรรค์</u> จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่บอกว่าผ้าขาวม้ามักจะทอกันอยู่แถบตำบลบ้านไร่ อำเภอลาดยาว และอีกที่หนึ่งที่นิยมทอในปัจจุบัน บ้านตะเคียนเลื่อน ตำบลเกาะหงส์ อำเภอเมือง สีของผ้าขาวม้าจะเป็นสีที่ตัดกันทอเป็นลายตาสก๊อต นิยมใช้เส้นด้ายฝ้ายในการทอผ้าขาวม้า เพราะฝ้ายจะมีความนิ่มเนื้อละเอียด
▲1) ผ้าขาวม้าจังหวัดแพร่ ปัจจุบันการทอผ้าขาวม้าของจังหวัดแพร่ มักจะพบในพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอสูงเม่น อำเภอสอง และอำเภอร้องกวาง การทอลักษณะแบบ “จก” ที่บริเวณของผ้าขาวม้าด้วย เรียกว่า “ผ้าขาวม้ามีเชิง” เชิงของผ้าขาวม้าจะมีเทคนิคการจกลวดลายเพิ่มเติมเข้าไปในตัวผ้า ส่วนใหญ่จะเป็นลายหมากรุก หรือลวดลายเรขาคณิตทั่วไป ส่วนลายที่จกจะเป็นลายสัตว์ตามคตินิยม ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละกลุ่มชน เช่น ลายนก ลายช้าง ลายม้า เป็นต้น
▲# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดกาญจนบุรี</u> จะมีสีสันสดใสหลากสีด้วยกัน ผ้าขาวม้าผืนหนึ่งมักจะใช้สีที่ทอสลับกันประมาณ 4 สี สำหรับสีของเส้นไหมที่ทอเมื่อ 2 สีขดไปเกิดซ้อนกันก็จะทำให้ได้สีใหม่ขึ้นมา ทำให้มีสีสันสวยงามมากขึ้น สำหรับผ้าขาวม้าของจังหวัดกาญจนบุรีมิได้มีเพียงลวดลายเดียวที่มีหลากหลายลวดลาย ซึ่งให้ความงดงามต่างจากถิ่นอื่น
▲# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดชัยนาท</u> จะมีลักษณะเป็นผ้าทอด้วยไหมประดิษฐ์ด้วยโทเรและฝ้ายออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ แต่ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะนิยมทอด้วยโทเร เป็นลายสก๊อต ลายทาง หรือลายสี่เหลี่ยม และผ้าขาวม้าของตำบลเนินขาม อำเภอหินตามีชื่อเรียกว่า “ผ้าขาวม้า 5 สี” คือ สีแดง เหลือง ส้ม เขียว ขาว โดยจะการย้อมผ้าจะทำเช่นเดียวกันกับผ้ามัดหมี่ คือ การมัดแล้วย้อมเป็นสีต่างๆ
▲2) ผ้าทอจังหวัดน่าน การทอผ้าของชาวน่านมีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังปรากฏภาพฝาผนังในวัดภูมินทร์ ผ้าขาวม้าชาวน่านจะเรียกกันว่า “ผ้าตะโก้ง” ส่วนมากมักนิยมทอด้วยฝ้าย เส้นฝ้ายนั้นทำเองตั้งแต่ปั่นฝ้าย ย้อมสี และสีที่ใช้ทอมักจะเป็นสีจากเปลือกไม้กลัด ไม้ประดู่ มะเกือ ใบสัก เป็นต้น เดิมจะนิยมทอผ้าขาวม้าเป็นสีแดงดำ ซึ่งเป็นสีดั้งเดิม แต่ปัจจุบันนิยมทอผ้าขาวม้าให้มีสีคลาสสิคมากยิ่งขึ้น โดยเน้นสีเขียว ฟ้า น้ำตาล เป็นสีที่กลมกลืนกับธรรมชาติ บริเวณชายผ้ามักจะจกลายช้าง ลายม้า ลายเจดีย์ ลายยกดอกลวดลายที่ทอเน้นเกี่ยวกับความเชื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ใช้ ผ้าทอของจังหวัดน่านจะคล้ายคลึงกับจังหวัดแพร่ แต่จะแตกต่างกับผ้าขาวม้าของที่อื่นตรงบริเวณเชิงผ้าที่มีการจกลายเพิ่มเติม แต่ปัจจุบันกลุ่มทอผ้าของจังหวัดต่างๆ ก็มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การทอผ้าของจังหวัดแพร่และน่านจึงมีการถ่ายทอดความรู้ไปให้จังหวัดอื่นๆ บางพื้นที่จึงมีการทอผ้าขาวม้าและจกลายบริเวณเชิงผ้าเพิ่มเติมด้วย จัดว่าเป็นการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมอีกทางหนึ่ง
▲# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดลพบุรี</u> ณ อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี จัดได้ว่าเป็นแหล่งทอดผ้าพื้นเมืองที่เรียกได้ว่าเป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลักษณะผ้าดั้งเดิมของอำเภอบ้านหมี่จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะชาวอำเภอบ้านหมี่เป็นชาวไทพวนที่อพยพมาจากประเทศลาว ดังนั้นผ้าขาวม้าอำเภอบ้านหมี่จึงถือว่าเป็นผ้าความม้าที่มีลวดลายสีสันสวยงาม และเป็นผลงานของผ้าทอมือที่ประณีตมาก
▲# <u>ผ้าขาวม้าจังหวัดราชบุรี</u> ผ้าขาวม้าจังหวัดราชบุรี ส่วนใหญ่จะทออยู่ 2 ลวดลาย คือ ลายหมากรุก และลายตาปลา เป็นผ้าขาวม้าที่สวยงามเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ราคาถูก และสีไม่ตก สำหรับผ้าขาวม้าของจังหวัดราชบุรีจะรู้จักการในนาม “ผ้าทอบ้านไร่” แต่ในปัจจุบันผ้าขาวม้าของจังหวัดราชบุรีมีชื่อเสียงโด่งดังมาก จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของคนรุ่นใหม่ ที่มีการพัฒนาสี ลวดลาย รูปแบบ ให้ผ้าขาวม้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยมากขึ้นในชื่อ “Pakamian”
=== ภาคใต้ ===
|