ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโครซอฟท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7200234 โดย Ansด้วยสจห.
ได้เปลี่ยนแปลงเสดสิ้น
บรรทัด 27:
}}
 
== เจ้าน่ะ ได้ถูกแฮกแล้ว ==
'''ไมโครซอฟท์''' ({{lang-en|Microsoft}} ; {{nasdaq|MSFT}}) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนา[[ซอฟต์แวร์]]รายใหญ่ของ[[โลก]]<ref name="2005annual">{{cite web | title= Microsoft Annual Report 2005 | url= http://www.microsoft.com/msft/ar05/downloads/MS_2005_AR.doc | publisher = Microsoft| format = doc | accessdate= 1 October | accessyear=2005}}</ref><ref name="fastfacts" /> มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ [[รัฐวอชิงตัน]] [[สหรัฐอเมริกา]] โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ [[ระบบปฏิบัติการ]][[ไมโครซอฟท์ วินโดวส์]] และ [[ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ]]
* อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ
 
จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปล[[ภาษาเบสิก]] สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้[[คอมพิวเตอร์]]ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า {{คำพูด|คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในสำนักงานหันมาใช้ซอฟต์แวร์ของไมโครซอฟท์<ref>{{cite news | url= http://blog.seattlepi.nwsource.com/microsoft/archives/003469.html | title= The rest of the motto | date= [[September 23]], [[2004]] | accessdate= 2007-01-22 | publisher= [[Seattle Post-Intelligencer]]| first= Todd | last= Bishop | work= Todd Bishop's Microsoft Blog}}}}</ref>}}
 
ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนิน[[ธุรกิจ]][[เคเบิลทีวี]]) , [[เอ็มเอสเอ็น]] (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ[[อินเทอร์เน็ต]]),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจ[[สารานุกรม]]ออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์[[คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์]]อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น [[Xbox]], [[Xbox 360]], [[Xbox One]], [[ซูน]] และ [[เอ็มเอสเอ็น ทีวี]].<ref name="2005annual" />บริษัทได้นำ[[หุ้น]]เข้าซื้อขายใน[[ตลาดหลักทรัพย์]] โดยราคาหุ้นของไมโครซอฟท์อยู่ในภาวะมั่นคง ไมโครซอฟท์มีทรัพย์สินรวมกันประมาณ 40,000 ล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] (ประมาณ 1.4 ล้านล้านบาท) และมีกำไรประมาณ 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 420,000 ล้านบาท) <ref>Chapman, Merrill R., ''In search of stupidity: over 20 years of high-tech marketing disasters'' (2nd Edition) , Apress, ISBN 1-59059-721-4</ref><ref name="stockrich">{{cite news | url=http://www.nytimes.com/2005/05/29/business/yourmoney/29millionaire.html?ex=1275019200&en=de3d71cbbb7e06f8&ei=5090&partner=rssuserland&emc=rss | title=The Microsoft Millionaires Come of Age | author= Julie Bick | date=[[2005-05-29]] | publisher= [[The New York Times]] | accessdate=2006-07-03}}</ref><ref name="MVP">{{cite web | url=http://www.boston.com/business/globe/articles/2005/06/13/somehow_usenet_lumbers_on/ | title=Somehow, Usenet lumbers on | author=Hiawatha Bray | date=[[2005-06-13]] | accessdate=2006-07-03 | publisher=[[The Boston Globe]]}}<br />* {{cite web | url= http://mvp.support.microsoft.com/mvpfaqs | title= Microsoft Frequently Asked Questions | publisher = Microsoft (Most Valued Professional) | accessdate=2006-07-01}}</ref>
 
ประวัติโดยรวมของบริษัทเริ่มเป็นเป้าหมายของการวิพากษ์วิจารณ์ รวมทั้งเริ่มมีการแข่งขันทางด้านเอกสิทธิ์และการต่อต้านการปฏิบัติการด้านธุรกิจรวมทั้งการปฏิเสธ โดยการทรวงยุติธรรมของสหรัฐอเมริกา และองค์กรจาก[[ทวีปยุโรป]]<ref name="usvms">{{cite web |title=United States v. Microsoft |url=http://www.usdoj.gov/atr/cases/ms_index.htm |publisher=U.S. Department of Justice |accessdate=August 5 |accessyear=2005 }} homepage at the [[United States Department of Justice]]</ref><ref name="Europa">[http://europa.eu/rapid/pressReleasesAction.do?reference=IP/04/382&format=HTML&aged=1&language=EN&guiLanguage=en EUROPA - Rapid - Press Releases<!--Bot-generated title-->]</ref>
 
อย่างไรก็ตาม บริษัทก็ได้แถลงว่ายังเป็นองค์กรธุรกิจที่เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาโปรแกรม ไมโครซอฟท์มีประวัติการช่วยเหลือผู้ใช้ผ่านทาง[[เวิลด์ไวด์เว็บ]] และรางวัลไมโครซอฟท์ เอ็มวีพี สำหรับอาสาสมัครที่ช่วยเหลือลูกค้าเป็นประจำ<ref name="bb">{{cite journal | first=John | last=Charles | title= Indecent proposal? Doing Business With Microsoft | journal= IEEE Software | issue= January/February 1998 | pages=113–117}}<br />* {{cite book | author=Jennifer Edstrom | coauthors= Marlin Eller | title= Barbarians Led by Bill Gates: Microsoft from inside | year=1998 | publisher=N.Y. Holt | isbn=0-8050-5754-4}}<br />* {{cite book | author=Fred Moody | title=I Sing the Body Electronic: A Year With Microsoft on the Multimedia Frontier | publisher=Viking | year=1995 | isbn=0-670-84875-1}}<br />* {{cite book | author=Michael A. Cusumano | coauthors=Richard W. Selby | title=Microsoft Secrets: How the World's Most Powerful Software Company Creates Technology, Shapes Markets and Manages People | publisher=Free Press | year=1995 | isbn=0-684-85531-3}}</ref><ref name="MVP"/> <!-- BOOK SOURCES Need Page numbers -->
 
== ประวัติ ==
=== 1975–1985: ก่อตั้ง ===
หลังจากการเปิดตัวของ [[แอทแอร์ 8000]] วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (หรือ [[บิลล์ เกตส์]]) ได้เรียกวิศวกรมาช่วยสร้างไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่, [[Micro Instrumentation and Telemetry Systems]] (MITS) , ได้สาธิตแสดงการใช้งานของ [[การเขียนโปรแกรม]][[ภาษาเบสิก]]สำหรับระบบให้กับ MITS หลังจากการสาธิตครั้งดังกล่าว, MITS ก็ยอมรับการใช้งานของโปรแกรม [[แอทแอร์ เบสิก]].<ref name="keyevents">{{cite web |title=Information for Students: Key Events In Microsoft History |url=http://www.microsoft.com/about/companyinformation/visitorcenter/student.mspx |publisher=Microsoft Visitor Center Student Information |accessdate=October 1 |accessyear=2005 |format=doc}}</ref>ในขณะที่ [[บิลล์ เกตส์]] ยังศึกษาอยู่ที่[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]], เขาก็ได้ย้ายไปที่[[รัฐนิวเม็กซิโก]] และได้ก่อตั้งไมโครซอฟท์ที่นั่น บริษัทในเครือของไมโครซอฟท์ที่ตั้งอยู่ต่างประเทศแห่งแรกคือ บริษัทไมโครซอฟท์แห่ง[[ประเทศญี่ปุ่น]] ก่อตั้งเมื่อ [[1 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1978]] <ref name="keyevents" /> และในวันที่ [[1 มกราคม]] [[ค.ศ. 1979]] บริษัทก็ย้ายสำนักงานใหญ่อีกครั้ง โดยตั้งอยู่ที่[[รัฐวอชิงตัน]]<ref name="keyevents" /> [[สตีฟ เบลล์เมอร์]] ได้เข้าทำงานกับไมโครซอฟท์เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1980 และได้เป็น[[ซีอีโอ]]ถัดจาก บิลล์ เกตส์ ในเวลาต่อมา<ref name="keyevents" />
 
ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มของไอบีเอ็ม-พีซี -IBM-PC มาจากแพ็คเกจซอฟต์แวร์ของแอปเปิลซอฟท์ เบสิก โดยมีส่วนประกอบของตัวแปลภาษาเบสิกที่อยู่ในเครื่องแอปเปิล และไมโครซอฟท์ ซอฟท์การ์ด , ซีพียู Z80 สำหรับเครื่องแอปเปิล และ ความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์เมื่อใช้เครื่องที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ [[CP/M]] ในแอปเปิลซอฟท์ และ แอปแปิลดอส
 
[[ไฟล์:Microsoft sign closeup.jpg|thumb|left|250px|ไมโครซอฟท์สำนักงานใหญ่ ณ เมือง[[อัลบูเคอร์คี]] [[รัฐนิวเม็กซิโก]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] ]]
 
 
ช่วงเวลาสำคัญของไมโครซอฟท์ ได้แก่เมื่อบริษัท[[ไอบีเอ็ม]]ได้วางแผนจะรุกตลาดเครื่อง[[คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล]] (พีซี) ด้วยการนำเครื่อง[[คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไอบีเอ็ม]]ออกวางตลาด ใน [[ค.ศ. 1985]] ไอบีเอ็มได้เข้ามาเจรจากับไมโครซอฟท์เพื่อขอซื้อระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (ไอบีเอ็มได้ทำสัญญาภาษาคอมพิวเตอร์ไปแล้ว) แต่ไมโครซอฟท์ไม่มีระบบปฏิบัติการจะขายให้ จึงแนะนำให้ไอบีเอ็มไปคุยกับ[[ดิจิทัลรีเสิร์ช]]แทน ที่ดิจิทัลรีเสิร์ช ผู้แทนของไอบีเอ็มได้คุยกับโดโรธี ภรรยาของ [[แกรี คิลดาลล์]] แต่เธอปฏิเสธการลงนามในข้อตกลงมาตรฐานซึ่งไม่ปิดผนึก เนื่องจากเห็นว่าเสียเปรียบเกินไป ไอบีเอ็มจึงหันมาคุยกับไมโครซอฟท์อีกครั้ง บิล เกตส์ได้สิทธิ์ในการใช้สำเนาการออกแบบของ [[CP/M]] และ [[QDOS]] ('''[[Quick-and-dirty|Quick and Dirty]] Operating System''') จาก [[ทิม แพทเทอร์สัน]] แห่งบริษัท [[ซีแอตเทิล คอมพิวเตอร์ โปรดักส์]] ด้วยการซื้อมาในราคา 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น DOS (Disk Operating System) เพื่อขายมันให้กับไอบีเอ็มในราคา "ราว 80,000 ดอลลาร์สหรัฐ" ตามคำกล่าวอ้างของเกตส์ และในที่สุด [[MS-DOS]] และ [[PC-DOS]] ก็ได้แจ้งเกิดในวงการ ต่อมา ไอบีเอ็มได้ค้นพบว่าระบบปฏิบัติการของเกตส์อาจมีปัญหาละเมิด[[สิทธิการเข้าถึงข้อมูล]]ของ CP/M จึงได้ติดต่อกลับไปที่[[แกรี คิลดาลล์]] และเพื่อแลกกับสัญญาว่าจะไม่ถูกคิลดาลล์ฟ้องกลับ ไอบีเอ็มได้ตกลงว่าจะขาย CP/M ควบคู่ไปกับ PC-DOS เมื่อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไอบีเอ็มออกวางตลาด โดยตั้งราคาขาย CP/M ไว้ที่ 250 ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่ MS-DOS/PC-DOS มีราคาเพียง 40 ดอลลาร์สหรัฐ ทำให้ MS-DOS/PC-DOS ขายดีกว่า CP/M หลายเท่า และกลายเป็นมาตรฐานในที่สุด ข้อตกลงเรื่องลิขสิทธิ์ระหว่างไมโครซอฟท์กับไอบีเอ็มเอง ไม่ได้สร้างรายได้มากมายเท่าไรนัก (ในสัญญาไม่ได้ระบุไว้ว่าจะต้องขายให้แก่ไอบีเอ็มเจ้าเดียว) แต่ในทางกลับกัน ไมโครซอฟท์มีสิทธิ์ในการขาย MS-DOS ให้กับผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์รายอื่นๆ และด้วยการโหมรุกทางการตลาดอย่างหนัก เพื่อขาย MS-DOS ให้ผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เลียนแบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไอบีเอ็ม ไมโครซอฟท์มีวิสัยทัศน์ในวงการอุตสาหกรรม[[ไมโครคอมพิวเตอร์]]อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน แม้จะต้องแข่งขันกับยักษ์ใหญ่ในวงการอย่างไอบีเอ็มก็ตาม<ref name="Smart-Close">{{cite web |url=http://www.smartcomputing.com/editorial/article.asp?article=articles/archive/r0304/09r04/09r04.asp&guid= |title=Booting Your PC: Getting Up Close & Personal With A Computer’s BIOS |publisher=Smart Computing |month=November | year=1999 |accessdate=2008-08-18}}</ref><ref name="Smart-WhatBIOS">{{cite web |url=http://www.smartcomputing.com/editorial/article.asp?article=articles/1994/july94/pcn0713/pcn0713.asp&articleid=5360&guid= |title=What Is The BIOS? |month=July | year=1994 |publisher=Smart Computing |accessdate=2008-08-18}}</ref><ref name="Lemley-BIOS">{{cite web |url=http://www.extremetech.com/article2/0,1697,1151907,00.asp |title=Everything You Want or Need to Know About Your BIOS |publisher=Extreme Tech |accessdate=2008-08-18}}</ref><ref name="Lemley-IP">{{cite book |last=Lemley |first=Mark |coauthors=Peter S. Menell and Robert P. Merges |title=Intellectual Property in the New Technological Age |chapter=Appendix B: Introduction to Computer Technology |publisher=Aspen Publishers | chapterurl= http://www.law.berkeley.edu/institutes/bclt/pubs/ipnta/appenb.pdf |format=PDF |isbn=0-7355-3652-X |year=2006 |location=New York | edition = 4th |accessdate=2006-09-02}}</ref><ref name="Lexikon">{{cite web |url=http://www.computermuseum.li/Testpage/MSDOS-PCDOS.htm |title=MS DOS and PC DOS |work=Lexikon's History of Computing |accessdate=2008-08-18}}</ref><ref name="Smart-DOSChoice">{{cite news |url=http://www.smartcomputing.com/editorial/article.asp?article=articles/1994/june94/pcn0608/pcn0608.asp&articleid=5103&guid= |title=When It Comes To DOS, You Now Have A Choice |publisher=Smart Computing |date=June 1994 |accessdate=2008-08-18}}</ref><ref name="Smart-Microsoft">{{cite news |url=http://www.smartcomputing.com/editorial/article.asp?article=articles/archive/r0603/09r03/09r03.asp |title=Microsoft to Microsoft disk operating system (MS-DOS) |publisher=Smart Computing |date=March 2002 |accessdate=2008-08-18}}</ref>หลังจากนั้น ไมโครซอฟท์ก็ได้รุกตลาด[[ฮาร์ดแวร์]] โดยการเปิดตัวไมโครซอฟท์ เมาส์ ในปี [[ค.ศ. 1983]] และก่อตั้งไมโครซอฟท์ เพลส เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ให้กับผู้ใช้<ref name="keyevents" />
 
=== 1985–1995 ===
ในเดือน[[สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1985]] ไมโครซอฟท์กับไอบีเอ็ม ได้ร่วมกันพัฒนาระบบปฏิบัติการที่ก้าวหน้ากว่าเดิม มีชื่อว่า OS/2 (โอเอสทู) <ref name="Dubash">{{cite web |author=Manek Dubash |title=Techworld Article:OS/2 users must look elsewhere |work=Techworld |publisher=[[IDG]] |url=http://www.techworld.com/applications/features/index.cfm?featureid=1603&Page=1&pagePos=5 |date=2005-07-19 |accessdate=2005-07-05}}</ref>และในวันที่ [[20 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1985]] ไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดตัวเวอร์ชันแรกของ[[ไมโครซอฟท์ วินโดวส์]] โดยเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้รูปแบบกราฟิกรุ่นแรก โดยเป็นส่วนต่อภายนอกของดอส <ref name="keyevents" />[[13 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1986]] บริษัทได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยราคาหุ้นเริ่มแรกอยู่ที่ 21 ดอลลาร์สหรัฐ และปิดการซื้อขายวันแรกที่ 28 ดอลลาร์สหรัฐ และหลังจากนั้น ไมโครซอฟท์มีมูลค่าหุ้นถึง 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และประมาณการว่า ไมโครซอฟท์มีมูลค่าทรัพย์สินมากถึง 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name="Chapman">Chapman, Merrill R., ''In search of stupidity: over 20 years of high-tech marketing disasters'' (2nd Edition), Apress, ISBN 1-59059-721-4</ref><ref name="stockrich"/><ref name="MVP">{{cite web |url=http://www.boston.com/business/globe/articles/2005/06/13/somehow_usenet_lumbers_on/ |title=Somehow, Usenet lumbers on |author=Hiawatha Bray |date=2005-06-13 |accessdate=2008-08-18 |publisher=[[The Boston Globe]]}}<br />* {{cite web |url=http://mvp.support.microsoft.com/mvpfaqs |title=Microsoft Frequently Asked Questions |publisher=Microsoft (Most Valued Professional) |accessdate=2008-08-18}}</ref>ในปี [[ค.ศ. 1987]] ไมโครซอฟท์ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการจาก [[โอเอสทู]] ไปสู่ระบบปฏิบัติการแบบ[[OEMs]].<ref name="MSJ-index">{{cite web |title=Microsoft Systems Journal — 1986–1994 Index |publisher=Microsoft |url=http://www.microsoft.com/msj/backissues86.aspx |accessdate=2008-08-18}} See May 1987 releases.</ref>
 
==== [[ไอพีโอ]] ====
ไมโครซอฟท์ นำหุ้นเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1986 ในราคาปิดที่ 27.75 ดอลลาร์สหรัฐ และมีจุดสูงสุดของวันที่ 29.25 ดอลลาร์สหรัฐ หลังจากไม่กี่นาที่ที่เปิดตลาด ทำให้ เกตส์ และ อเลน กลายเป็นเศรษฐีพันล้านในเวลาต่อมา โดยเกตส์ถือหุ้นในไมโครซอฟท์ 45% ของมูลค่าหุ้น 24.7 ล้านดอลลาร์ และอเลนถือหุ้นอยู่ 25%<ref>[http://blog.seattlepi.nwsource.com/microsoft/archives/102018.asp Looking back: Microsoft IPO, March 1986]</ref> เกตส์ได้รับกำไรจากบริษัทอีก 234 ล้านดอลลาร์ และทำให้ไมโครซอฟท์มีมูลค่าหุ้นรวม 520 ล้านดอลลาร์ ในเวลาต่อมา<ref>[http://www.wired.com/wired/archive/7.09/trillionaire.html Wired 7.09: The World's First Trillionaire]</ref>
 
==== หลังจากเข้าสู่ตลาดหุ้น ====
 
ในปี [[ค.ศ. 1989]] ไมโครซอฟท์ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์สำนักงานที่ชื่อ [[ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ]] โดยเริ่มแรก ชุดโปรแกรมนี้ประกอบด้วย [[ไมโครซอฟท์ เวิร์ด]] และ[[ไมโครซอฟท์ เอ็กเซล]]<ref name="keyevents" />
ส่วนในวันที่ [[26 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1990]] ไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดตัว [[วินโดวส์ 3.0]]<ref name="MSPR-Win3">{{cite press release |title=Windows 3.0 is Here |format=PDF |publisher=Microsoft |url=http://www.windows-now.com/cfs-filesystemfile.ashx/__key/CommunityServer.Components.PostAttachments/00.00.02.10.92/Microsoft.PressReleases.Windows3.pdf |year=1990 |accessdate=2008-08-18}}</ref>
โดยเวอร์ชันใหม่ของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ได้มีการเปลี่ยนแปลง[[ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้]] และมีโหมดสำหรับผู้ใช้[[ซีพียู]][[อินเทล]] 386 โดยยอดขายวินโดวส์รุ่นนี้มีกว่า 100,000 ชุดภายใน 2 สัปดาห์<ref name="MS-WinHistory">{{cite web |url=http://www.microsoft.com/windows/WinHistoryDesktop.mspx |title=Windows History |publisher=Microsoft |date=2002-06-30 |accessdate=2008-08-18}}</ref>
 
วินโดวส์ 3.0 ได้สร้างกำไรมากมายให้กับไมโครซอฟท์ และทำให้บริษัทตัดสินใจปรับปรุงรูปแบบของโอเอสทูให้มาเป็นวินโดวส์<ref name="OS/2 history">{{cite web |author=David Both |url=http://www.os2bbs.com/os2news/OS2History.html |title=OS/2 History |publisher=OS/2 VOICE |accessdate=2008-08-18}}</ref>หลังจากนั้น มีผู้นิยมใช้ระบบปฏิบัติการโอเอสทูและวินโดวส์กันมากขึ้น ทำให้ไมโครซอฟท์ต้องรีบเพิ่มการผลิตและปรับปรุงระบบปฏิบัติการของตน
 
และเมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1991]] เกตส์ได้ประกาศต่อพนักงานของไมโครซอฟท์ว่า ความร่วมมือกับไอบีเอ็มเพื่อพัฒนา OS/2 ได้สิ้นสุดลงแล้ว ต่อแต่นี้ไมโครซอฟท์จะหันมาทุ่มเทให้กับระบบปฏิบัติการ[[ไมโครซอฟท์วินโดวส์]]แทน โดยมีแกนกลางเป็น [[Windows NT]]. ในปีที่นำผลิตภัณฑ์ออกสู่ท้องตลาดนั้น OS/2 ล้มเหลวโดยสิ้นเชิง และวินโดวส์ได้กลายเป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
ในช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนจาก MS-DOS ไปเป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ไมโครซอฟท์ได้ยึดตลาดของคู่แข่งด้วย[[โปรแกรมประยุกต์]]หลายตัว เป็นต้นว่า [[WordPerfect]] และ [[Lotus 1-2-3]]<ref name="thocp2">{{cite web |title=Microsoft Company September 15, 1975 |publisher=The History of Computing Project |url=http://www.thocp.net/companies/microsoft/microsoft_company_part2.htm |accessdate=August 11 |accessyear=2005 }}</ref><ref name="Masters">{{cite web |url=http://www.vnunet.com/computing/analysis/2073923/behind-pearly-gates |author=Steve Masters|publisher=[[VNU]] Business Publications |date=1998-02-13 |title=Behind the Pearly Gates |accessdate=2008-08-18|archiveurl=http://web.archive.org/web/20070927195247/http://www.vnunet.com/computing/analysis/2073923/behind-pearly-gates|archivedate=2007-09-27}}</ref>
 
ในปี [[ค.ศ. 1993]] ไมโครซอฟท์ได้เปิดตัว [[วินโดวส์ เอ็นที|วินโดวส์ เอ็นที 3.1]] เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในวงการธุรกิจโดยรูปแบบเหมือนกันกับ [[วินโดวส์ 3.11]] <ref name="thocp2" />และในปี [[ค.ศ. 1995]] ไมโครซอฟท์ได้เปิดตัว [[วินโดวส์ 95]] ซึ่งมีการปรับรูปแบบใหม่ทั้งหมด โดยเป็นวินโดวส์รุ่นแรกที่ใช้ทาสก์บาร์ โดยมียอดการจำหน่ายใน 4 วันแรกกว่า 1 ล้านชุด<ref name="thocp2" />โดยไมโครซอฟท์ได้เพิ่มความสามารถทางด้านเว็บแเบราว์เซอร์ ([[อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์]]) ลงในวินโดวส์ 95 พลัส แพ็ค ในเดือน[[สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1995]].<ref name="Hardmeier">{{cite web|author=Sandi Hardmeier |date=2005-08-25 |url=http://www.microsoft.com/windows/ie/community/columns/historyofie.mspx|publisher=Microsoft|title=Microsoft - The History of Internet Explorer|accessdate=2008-08-18}}</ref>
 
=== 1995–2005: อินเทอร์เน็ตและกฎหมาย ===
วันที่ [[26 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1995]] บิล เกตส์ ออกประกาศภายในเรื่อง คลื่นแห่งระบบอินเทอร์เน็ต<ref>Gates, Bill - [http://www.usdoj.gov/atr/cases/exhibits/20.pdf The Internet Tidal Wave]. Microsoft, May 26, 1995. Made publicly available at United States Department of Justice. United States v. Microsoft Trial Exhibits</ref>, ไมโครซอฟท์เริ่มต้นสายการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์สำหรับ[[ระบบเครือข่าย]] ในวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1995 ก็ได้เปิดตัวบริการออนไลน์อย่าง[[เอ็มเอสเอ็น]] ซึ่งเป็นคู่แข่งโดยตรงของเอโอแอล โดยเอ็มเอสเอ็นให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลออนไลน์ของไมโครซอฟท์<ref name="keyevents" /><ref name="thocp2" /><ref name="MSN-Timeline">{{cite web |url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2002/nov02/11-08MSN8GlobalTimeLine.mspx |title=MSN Historical Timeline: A brief history of milestone events in the life of MSN from the past ten years |publisher=Microsoft |month=June | year=2005 |accessdate=2008-08-18}}</ref>บริษัทยังคงสาขาไปตลาดใหม่ และในปี [[ค.ศ. 1996]] เริ่มมีกิจการเคบิลทีวีของตัวเองซึ่งใช้ชื่อว่า [[เอ็นบีซี]] โดยเป็นสถานีเคเบิลทีวีแบบ 24/7<ref name="thocp2" /><ref name="APM-NewsArchives">{{cite web |url=http://marketplace.publicradio.org/shows/1996/07/15_mpp.html |title=Marketplace: News Archives for July 15, 1996 |publisher=American Public Media |accessdate=2008-08-18}}</ref> ไมโครซอฟท์ได้เข้าสู่วงการ[[พีดีเอ]] ด้วย [[วินโดวส์ ซีอี 1.0]] ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสำหรับเครื่องพีดีเอ ใช้หน่วยความจำและสมรรถนำต่ำ เช่น handhelds และคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอื่นๆ<ref name="cehistory">{{cite web |url=http://www.hpcfactor.com/support/windowsce/ |title=The History of Microsoft Windows CS |publisher=HPC:Factor |accessdate=2008-08-18}}</ref>
 
ต่อมาในปี ค.ศ. 1997 [[Internet Explorer|อินเทอร์เน็ตเอกซ์โพลเลอร์ 4.0]] ได้ถูกออกแบบมาสำหรับ [[Mac OS]] และวินโดวส์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการการครอบครองของตลาด[[เว็บเบราว์เซอร์]] เช่น [[เน็ตสเคป]] ในเดือน[[ตุลาคม]] บริษัท จัสติส ดีพาร์ตเมนท์ ได้ ยื่นคำร้องใน Federal ว่าไมโครซอฟท์ได้ละเมิดสัญญาที่ได้ทำในปี [[ค.ศ. 1994|1994]] และได้ฟ้องให้บริษัทหยุดการพัฒนาโปรแกรมอินเทอร์เน็ตเอกซ์โพลเลอร์สำหรับวินโดวส์<ref name="keyevents" />
 
ในปี [[ค.ศ. 1998]] บิลล์ เกตส์ได้เลื่อนตำแหน่งให้ [[สตีฟ บอลเมอร์]] เพื่อนผู้คบหากันมานาน ให้ดำรงตำแหน่ง[[ผู้บริหารระดับสูง]] และดำรงตำแหน่ง ''หัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์'' แทนเขาอีกด้วย<ref name="keyevents" />และในปีเดียวกัน ไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดตัว[[วินโดวส์ 98]] ซึ่งเป็นรุ่นอัปเดตจาก[[วินโดวส์ 95]] ซึ่งได้เพิ่มความสามารถทางด้านอินเทอร์เน็ตและไดรเวอร์ให้ดีขึ้น<ref name="keyevents" /> วันที่ [[3 เมษายน]] [[ค.ศ. 2000]] คำตัดสินเด็ดขาดระหว่าง[[รัฐบาลสหรัฐอเมริกา]]กับไมโครซอฟท์<ref name="usvms" />
 
ในฐานะสถาปนิกซอฟต์แวร์ผู้วางยุทธวิธีการขายสินค้าของไมโครซอฟท์ บิลล์ เกตส์ได้เพิ่มความหลากหลายของประเภทสินค้าไปอย่างกว้างขวาง และเมื่อสินค้านั้น ๆ ครองตำแหน่งสินค้ายอดนิยมในบรรดาประเภทเดียวกัน เกตส์ก็จะพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อป้องกันตำแหน่งนั้นไว้ การตัดสินใจทางยุทธวิธีของเกตส์และของผู้บริหารระดับสูงของไมโครซอฟท์คนอื่น ๆ ทำให้ในปี [[ค.ศ. 2001]] หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมการแข่งขันทางการตลาดจับตามอง และในบางกรณีถูกวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย เช่นกรณีที่ไมโครซอฟท์ถูกฟ้องร้องในข้อหาผูกขาดทางการตลาดจากการรวมเอาอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ไว้ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์เป็นต้น<ref name="findingsoffact" />
 
ในปีเดียวกันนั้น ไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดตัว[[วินโดวส์เอกซ์พี]] เป็นวินโดวส์รุ่นแรกที่แยกส่วนการผลิตเป็น 2 รุ่น แต่ก่อนที่จะมีวินโดวส์เอกซ์พี ได้มีการทดสอบวินโดวส์เอ็นที และวินโดวส์ 9x ในฐาน XP วินโดวส์เอกซ์พีได้มีการปรับปรุง[[ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้]] เป็นครั้งที่ 2 จากครั้งที่แล้วที่ทำกับ[[วินโดวส์ 95]]<ref name="keyevents" /><ref name="MS-XPProFeatures">{{cite web |date=2004-08-25 |url=http://www.microsoft.com/windowsxp/pro/evaluation/features.mspx |archiveurl=http://web.archive.org/web/20070818081834/http://www.microsoft.com/windowsxp/pro/evaluation/features.mspx |archivedate=2007-08-18 |title=Windows XP Professional Features |publisher=Microsoft |accessdate=2008-08-18}}</ref>หลังจากปี 2001 ไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดตัว [[Xbox]] โดยไมโครซอฟท์เข้าสู่วงการเกมเพื่อแข่งขันกันกับ[[โซนี่]] และ[[นินเทนโด]]<ref name="keyevents" />
 
=== 2006–ปัจจุบัน: วิสตา และการเปลี่ยนแปลง ===
[[27 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 2008]] บิล เกตส์ ได้เลิกทำภารกิจต่างๆ ในบริษัท หลังจากบทบาทของหัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์ของเขาลดลงเป็นเวลากว่า 2 ปี และตำแหน่งดังกล่าวได้ถูกแทนที่โดย [[เรย์ โอสซีย์]] แต่เขาก็ยังอยู่ในบริษัทในฐานะประธานกรรมการบริหารและที่ปรึกษาโครงการ<ref name="MSPR-GatesTransition">{{cite press release |url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2006/jun06/06-15CorpNewsPR.mspx |title=Microsoft Announces Plans for July 2008 Transition for Bill Gates |publisher=Microsoft |date=2006-06-15|accessdate=2008-08-18}}</ref>จากนั้น [[วินโดวส์ วิสตา]] ก็ได้เปิดตัวในช่วงต้นปี [[ค.ศ. 2007]] โดยมียอดการจำหน่ายวันแรกสูงถึง 140 ล้านชุด<ref>{{citeweb|title=Gates: 140 million copies of Vista sold.|url=http://www.techspot.com/news/29984-gates-140-million-copies-of-vista-sold.html|publisher=TechSpot|accessdate=2008-08-18}}</ref>และได้เปิดตัวพร้อมกับ[[ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ 2007]] โดยมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบใหม่คือริบบอน<ref>{{cite web|url=http://edinburghnews.scotsman.com/microsoft/Vista-gives-Microsoft-view-of.3280536.jp|title=Vista gives Microsoft view of record profit|publisher=Edinburgh Evening News|accessdate=2009-02-01}}</ref>
 
ในวันที่ [[1 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 2008]] ไมโครซอฟท์ได้เสนอซื้อ[[ยาฮู]] ในราคา 44,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>[http://money.cnn.com/news/newsfeeds/articles/djf500/200802011107DOWJONESDJONLINE000664_FORTUNE5.htm 5th UPDATE: Microsoft Offers To Buy Yahoo For $44.6 Billion]</ref>และถูกปฏิเสธเมื่อวันที่ [[10 กุมภาพันธ์]] ทำให้ในวันที่ [[3 พฤษภาคม]] ปีเดียวกัน ไมโครซอฟท์จึงประกาศถอนตัวในการเสนอราคาครั้งนี้<ref name="msft_withdrawl">{{citeweb|title=Microsoft Withdraws Proposal to Acquire Yahoo!|url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2008/may08/05-03letter.mspx|publisher=Microsoft|accessdate=2008-05-03}}</ref>
 
ไมโครซอฟท์ออกมาประกาศเมื่อ [[21 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 2008]] จะแบ่งปันข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีเพื่อให้ง่ายขึ้น สำหรับนักพัฒนาในการสร้างซอฟต์แวร์ที่ทำงานร่วมกับผลิตภัณฑ์<ref>[http://edition.cnn.com/2008/TECH/ptech/02/21/microsoft.sharing.ap/index.html Microsoft offers to share some secrets]</ref>อย่างไรก็ตาม[[สหภาพยุโรป]]ยังคงแสดงถึงความไม่พอใจกับบริษัทที่ขาดสภาพคล่อง ประกอบกับในเดือน[[มีนาคม]] [[ค.ศ. 2004]] มีการตัดสินจากศาลว่าให้เพิ่มโทษปรับของไมโครซอฟท์อีก € 899 ล้าน ($ 1.4 พันล้าน) ซึ่งถือว่าเป็นการเพิ่มโทษปรับครั้งที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์ของ[[อียู]]<ref name="msft_eufine_2008">{{citeweb|title=AFP:EU hits Microsoft with record 899 million euro antitrust fine|url=http://afp.google.com/article/ALeqM5iozBXlp2nzuVxnMx_SwmtKvi7C-w|publisher="[[Agence France-Presse]]"|accessdate=2008-06-01}}</ref>หลังจากนั้น ในรายงานทางการเงินของเดือน[[มกราคม]] [[ค.ศ. 2009]] ของไมโครซอฟท์ ปรากฏว่า มีพนักงานถูกเลิกจ้างมากถึง 5,000 คน เนื่องจากเกิด[[วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์]]<ref name="msft_2009_layoffs">{{citeweb|title=Microsoft Reports Second-Quarter Results | url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2009/jan09/01-22fy09Q2earnings.mspx|accessdate=2009-01-23}}</ref>
 
และในวันที่ [[12 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 2009]] ไมโครซอฟท์ออกมา การประกาศเจตนาเพื่อเปิดขายผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ในร้านค้าปลีก เช่น วอลล์มาร์ท และ ดรีมเวิร์ค โดยมีแนวคิดมาจากเดวิด พอร์เธอร์ เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์สามารถซื้อได้สะดวกขึ้น<ref>{{cite web |url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2009/feb09/02-12CVPRetailStoresPR.mspx |title=Microsoft Appoints David Porter as Corporate Vice President of Retail Stores |accessdate=2009-02-13}}</ref>
 
ในวันที่ 3 [[พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 2011]] ไมโครซอฟท์และโนเกียได้ประกาศร่วมมือพัฒนา Window Phone และในวันที่ [[2 กันยายน]] [[ค.ศ. 2013]] ไมโครซอฟท์ได้ประกาศเข้าซื้อกิจการด้านโทรศัพท์ของ[[โนเกีย]]ทั้งหมด ในราคา 7.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาในวันที่ [[25 เมษายน]] [[ค.ศ. 2014]] ไมโครซอฟท์ได้ก่อตั้ง[[ไมโครซอฟท์ โมบาย]]
 
ในวันที่ [[18 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 2016]] ไมโครซอฟท์ได้หมดสัญญาผูกพันกับทางโนเกีย ที่ห้ามไม่ให้โนเกียดำเนินการจัดจำหน่ายสมาร์ทโฟนในชื่อโนเกีย<ref>[http://www.mxphone.net/180516-nokia-comeback-in-smartphone-venture-with-foxconn/ คนคุ้นเคย Nokia เตรียมคืนสังเวียนสมาร์ทโฟนร่วมทุนกับ Foxconn ทำแบรนด์ HMD]</ref> และในวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 2016]] ไมโครซอฟท์ได้ยกเลิกการผลิต[[ไมโครซอฟท์ ลูเมีย]]ของ[[ไมโครซอฟท์ โมบาย]] โดยการปลดพนักงานออกถึง 1,850 ตำแหน่ง ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคมปี 2017<ref>[http://mobile.kapook.com/view2625 ไม่ได้ไปต่อ ! ไมโครซอฟท์ประกาศเลิกผลิตสมาร์ทโฟนแล้ว]</ref>
 
== ผลิตภัณฑ์ ==
ในเดือนเมษายน [[ค.ศ. 2002]] ไมโครซอฟท์ได้จัดตั้ง 7 กลุ่มบริษัทที่มีอิสระทางการเงิน และหลังจากนั้น ในวันที่ [[20 กันยายน]] [[ค.ศ. 2005]] ไมโครซอฟท์ได้แบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก 7 กลุ่มผลิตภัณฑ์เป็น 3 หมวด คือ
# '''หมวดผลิตภัณฑ์แพลตฟอร์ม''' ประกอบด้วย [[วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์]] , เอ็มเอสเอ็น และกลุ่มโปรแกรมเบ็ดเตล็ดต่างๆ
# '''หมวดผลิตภัณฑ์ธุรกิจ''' ประกอบด้วย โซลูชั่นสำหรับธุรกิจ
# '''หมวดผลิตภัณฑ์บันเทิง''' เช่น [[วินโดวส์โมบาย]] <ref name="MS-Commitment">{{cite web |title=Our Commitment to Our Customers: Microsoft's Business|url=http://www.microsoft.com/About/CompanyInformation/ourbusinesses/business.mspx |publisher=Microsoft |date=2005-09-20 |accessdate=2007-03-31 }}</ref><ref name="MSPR-AllchinRetire">{{cite press release |title=Microsoft Realigns for Next Wave of Innovation and Growth: CEO Ballmer appoints presidents of three core divisions; Allchin announces retirement plan |url=http://www.microsoft.com/presspass/press/2005/sep05/09-20ExecChangesPR.mspx |date=2005-09-20 |accessdate=September 26 |publisher=Microsoft |accessyear=2005 }}</ref>
 
=== หมวดผลิตภัณฑ์แพลตฟอร์ม ===
เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อไมโครซอฟท์เป็นอย่างมาก ซึ่งได้รับการผลิตในหลายเวอร์ชัน เช่น [[วินโดวส์ 3.11]] [[วินโดวส์ 95]] [[วินโดวส์ 98]] [[วินโดวส์มี]] [[วินโดวส์ 2000]] [[วินโดวส์เอกซ์พี]] [[วินโดวส์วิสตา]] และ [[วินโดวส์เซเว่น]] โดยเกือบทั้งหมดมาจาก [[IBM compatible]] แต่มีซอฟต์แวร์เสริมที่เข้ามาคือ Windows preinstalled โดยในปัจจุบัน[[เดสก์ทอป]]ส่วนใหญ่หันมาใช้วินโดวส์วิสตา ส่วนในการให้บริการแบบออนไลน์นั้น ประกอบก้วย [[เอ็มเอสเอ็น]] [[เอ็มเอสเอ็นบีซี]] และนิตยสารออนไลน์ของไมโครซอฟท์ (Slate แต่ถูกซื้อกิจการโดย[[วอชิงตันโพสต์]] เมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2004]]) และในปลายปี [[ค.ศ. 1997]] ไมโครซอฟท์ได้ซื้อกิจการของเอ็มเอสเอ็น ซึ่งเป็นผู้ให้บริการเว็บเมลที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุด และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เอ็มเอสเอ็น ฮอตเมล" ในปี [[ค.ศ. 1999]] ไมโครซอฟท์ได้แนะนำ[[เอ็มเอสเอ็น]] โดยใช้เมลเซิร์ฟเวอร์เพิ่อแข่งขันกับ[[เอโอแอล]] ต่อมาเมื่อไมโครซอฟท์ได้ออกระบบปฏิบัติการวินโดวส์วิสตา เอ็มเอสเอ็นก็ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น[[วินโดวส์ไลฟ์ เมสเซนเจอร์]]<ref name="2005annual" />
 
[[ไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ]] เป็นที่นิยมสำหรับองค์กรที่ต้องการความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรม โดยสามารถพัฒนาโปรแกรมที่เป็น [[GUI]] และ[[วินโดวส์เอพีไอ]] แต่จะต้องมีการตั้งค่าหากใช้ไม่ได้กับ [[Microsoft libraries]] ในเวอร์ชันล่าสุด (วิชวลสตูดิโอ 2008) และรุ่นก่อนหน้า (วิชวลสตูดิโอ 2005) มีการปรับปรุงครั้งสำคัญโดยมีความสามารถมากกว่ารุ่นก่อน ๆ ในวิชวลสตูดิโอดอตเน็ต 2003 ก็ได้มีการเพื่มชื่อ "ดอตเน็ต" (.NET) ต่อท้าย โดยไมโครซอฟท์ได้มีความคิดริเริ่มที่จะครอบคลุมตลาดทางเทคโนโลยี ไมโครซอฟท์ได้ให้คำจำกัดความของเทคโนโลยีดอตเน็ตในปี [[ค.ศ. 2004]] โดยเทคโนโลยีดอตเน็ตเป็นการพัฒนาโปรแกรมของวินโดวส์ที่สามารถใช้บน[[อินเทอร์เน็ต]]ได้
 
สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการสื่อสารของไมโครซอฟท์ที่ออกมาใหม่ว่า "อินดีโก" โดยการออกผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำคุณสมบัติบางอย่างของการออกแบบแอสแซมบลิของไมโครซอฟท์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ยาก แต่ก็ยังมีวิสัยทัศน์ในการจัดการในสถานการณ์เช่นนี้ แต่ก็ยังต้องติดตั้งซอฟต์แวร์หลายโปรแกรมในระบบเดียวกัน และให้ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อสอดคล้องกับการพัฒนาแพลตฟอร์มสำหรับทุกแอปพลิเคชันของวินโดวส์ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังจัดตั้งชุดโปรแกรมพิเศษเพื่อรับรองบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาซอฟต์แวร์และโซลูชั่น โดยคล้ายกันกับผลิตภัณฑ์ของ[[ซิสโค]] , [[ซันไมโครซิสเต็มส์]] , [[โนเวลล์]] , [[ไอบีเอ็ม]] และ [[โอราเคิล]] โดยได้มีการทดสอบและออกแบบเพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้งและจัดการเฉพาะทาง
 
และไมโครซอฟท์มีชุดผลิตภัณฑ์สำหรับ[[เซิร์ฟเวอร์]] เช่น [[วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003]] โดยในระบบปฏิบัติการของเซิร์ฟเวอร์เป็นหัวใจหลักของสายการผลิตของกลุ่มผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์ของไมโครซอฟท์ อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์คือระบบการจัดการเซิร์ฟเวอร์ โดยรวบรวมเครื่องมือควบคุมระยะไกล , แพทช์การจัดการ ส่วนผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์อื่นๆ เช่น [[ไมโครซอฟท์ ซีเควล เซิร์ฟเวอร์]] (ระบบจัดการฐานข้อมูล) และ ไมโครซอฟท์ เอกซ์เชนจื เซิร์ฟเวอร์ (เมลเซิร์ฟเวอร์สำหรับองค์กรธุรกิจ) <ref name="2005annual" />
 
=== หมวดผลิตภัณฑ์ธุรกิจ ===
[[ไฟล์:Microsoft building 17 front door.jpg|thumb|left|ด้านหน้าทางเข้าของอาคาร 17 ของเรดมอนส์]]
กลุ่มผลิตภัณฑ์ธุรกิจของไมโครซอฟท์ที่สำคัญเช่น [[ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ]] ซึ่งเป็นสายงานหลักของบริษัทในด้านซอฟต์แวร์สำนักงาน โดยประกอบด้วย [[ไมโครซอฟท์ เวิร์ด]] , [[ไมโครซอฟท์ แอคเซส]] , [[ไมโครซอฟท์ เอกเซล]] , [[ไมโครซอฟท์ เอาต์ลุค]] , [[ไมโครซอฟท์ เพาวเวอร์พอยท์]] ,[[ไมโครซอฟท์ พับลิชเชอร์]] , [[ไมโครซอฟท์ วิซโอ]] , [[ไมโครซอฟท์ โปรเจกต์]] , [[ไมโครซอฟท์ แมป พอยท์]] , [[ไมโครซอฟท์ อินโฟพาธ]] และ [[ไมโครซอฟท์ วันโน้ต]]<ref name="2005annual" />
 
การแบ่งส่วนที่เน้นการพัฒนาธุรกิจการเงินและการบริหารจัดการซอฟต์แวร์สำหรับบริษัท โดยผลิตภัณฑ์เหล่านี้รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตอยู่ในหมวดธุรกิจ โดยได้ก่อตั้งเมื่อเดือน[[เมษายน]] [[ค.ศ. 2001]]
 
=== หมวดผลิตภัณฑ์บันเทิง ===
{{โครงส่วน}}
 
== ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ==
[[บิล เกตส์]] ได้พบกุญแจสำหรับวิสัยทัศน์สำหรับบริษัทคือการ ต้องการส่งผลิตภัณฑ์เวิร์กสเตชันและซอฟต์แวร์จากทำงานของเราไปยังทุกที่ทำงานและทุกบ้าน<ref>Quote from ComputerWorld 1985 (7/22) ; there is as yet no documented use of this vision statement prior to 1985. Gates wrote in ''The Road Ahead that he was 'guided by a belief that the computer would be a valuable tool on every office desktop and in every home'.</ref><ref name="Bishop2004-09-23">{{cite news |url=http://blog.seattlepi.nwsource.com/microsoft/archives/003469.html |title=The rest of the motto |date=September 23, 2004 |accessdate=2008-08-18 |publisher=[[Seattle Post-Intelligencer]]|first=Todd |last=Bishop |work=Todd Bishop's Microsoft Blog}}</ref><ref name="findingsoffact">{{cite web |author=Thomas Penfield Jackson, U.S. District Judge |url=http://www.usdoj.gov/atr/cases/f3800/msjudgex.htm |title=U.S. vs. Microsoft findings of fact |publisher=U.S. Department of Justice |date=1999-11-05 |accessdate=2008-08-18}}</ref>เนื่องจากการที่พวกเขาใหญ่ส่วนแบ่งการตลาดในบ้านและธุรกิจของระบบปฏิบัติการ และพวกเขาเล่นบทบาทที่สำคัญในเศรษฐศาสตร์ของซอฟต์แวร์
 
ไมโครซอฟท์ ได้รับความมั่นคงในตลาดอื่นๆนอกเหนือจากระบบปฏิบัติการและชุดโปรแกรมไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ รวมถึงเอ็มเอสเอ็นบีซี , [[เอ็มเอสเอ็น]] , [[ไมโครซอฟท์ เอ็นคาร์ทา]] และไมโครซอฟท์ยังประสบความสำเร็จทางด้าน[[อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์]] และอุปกรณ์เพื่อความบันเทิงอีกด้วย เช่น ซูน , [[Xbox 360]] และ [[เอ็มเอสเอ็น ทีวี]] <ref name="2005annual" />
 
== ค่านิยมของผู้ใช้ ==
การอ้างอิงทางเทคนิคสำหรับนักพัฒนาและบทความสำหรับแม็คกาซีนของไมโครซอฟท์ โดยสามารถใช้งานได้ผ่านกลุ่มนักพัฒนาของไมโครซอฟท์ (หรือที่เรียกว่า [[MSDN]]) โดยเอ็มเอสดีเอ็นยังมีแหล่งข้อมูลสำหรับบริษัทและบุคคลและ แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมที่มักจะนำเสนอข่าวสารการปล่อยซอฟต์แวร์รุ่นเบต้าของไมโครซอฟท์<ref name="MSDN-SubscribeFAQ">{{cite web |url=http://msdn.microsoft.com/en-us/ms123402.aspx?missingurl=%2fsubscriptions%2ffaq%2fdefault.aspx |publisher=Microsoft|title=MSDN Subscription FAQ |accessdate=2006-07-03}}</ref><ref name="MSJ-home">{{cite web |url=http://www.microsoft.com/msj/ |title=Microsoft Systems Journal Homepage |publisher=Microsoft|date=April 15, 2004 |accessdate=2008-08-18}}</ref> โดยในปีล่าสุด ไมโครซอฟท์เปิดตัวเว็บไซต์ชุมชนสำหรับนักพัฒนาและผู้ใช้ ซึ่งมีคุณสมบัติหลายทันสมัยเช่น[[วิกิ]] และ[[เว็บบอร์ด]] <ref name="Hobson">{{cite web |author=Neville Hobson |url=http://www.webpronews.com/topnews/2005/04/11/microsofts-channel-and-cultural-rules |title=Microsoft's Channel 9 And Cultural Rules |work=WebProNews |publisher=[[iEntry Inc]] |date=2005-04-11 |accessdate=2006-07-03}}</ref> Another community site that provides daily [[videocast]]s and other services, ''On10.net'', launched on March 3, 2006.<ref name="On10-home">{{cite web |url=http://www.On10.net |title=On10.net homepage |accessdate=2006-05-04}}</ref>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.microsoft.com/ เว็บไซต์หลักของไมโครซอฟท์ (อังกฤษ)]
* [http://www.microsoft.com/th/th/ เว็บไซต์หลักของไมโครซอฟท์ (ไทย)]
 
== อ้างอิง ==