ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรงปฏิกิริยา (ฟิสิกส์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ตามหลักกลศาสตร์แบบนิวตัน กฎข้อสามของกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกล่าวว่าแรงใดๆ ย่อมเกิดเป็นคู่เสมอ เมื่อวัตถุที่หนึ่งออกแรงกระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองย่อมออกแรงกระทำกับวัตถุที่หนึ่งในขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้ามเสมอ ส่วนใหญ่บรรยายกฎนี้ไว้ว่า "ทุกแรงกิริยา (action) ย่อมมีแรงปฏิกิริยา (reaction) ซึ่งมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศตรงข้ามกันเสมอ" การเรียกแรงแต่ละแรงในคู่แรงใดๆ ว่าแรงกิริยา หรือ'''แรงปฏิกิริยา''' เป็นการสมมติเท่านั้น เราอาจเรียกแรงใดแรงหนึ่งว่าแรงกิริยา แล้วเรียกอีกแรงว่าแรงปฏิกิริยาได้เช่นกันเสมอ
 
'''แรงปฏิกิริยา''' คือ แรงอันเนื่องมาจากแรงกริยาโดยมีทิศทางตรงกันข้าม และขนาดเท่ากับแรงกริยาเสมอ เช่น รถชน[[สุนัข]] แรงกริยา คือ แรงที่รถกระทำกับสุนัข และ แรงปฏิกิริยา คือ แรงที่สุนัขกระทำกับรถ
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
{{โครงฟิสิกส์}}