ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เป็นข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งอ้างอิงตามความในรัฐธรรมนูญ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบอบการปกครอง}}
'''ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์''' ({{lang-en|royalism}}) เป็นลัทธิที่สนับสนุนราชอาณาจักร หรือการปกครองรูปแบบใดก็ได้เพียงแต่ให้มี[[พระมหากษัตริย์]]เป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]] สนับสนุน[[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]] หรือสนับสนุนพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน แต่ส่วนใหญ่แล้ว มักใช้ในกลุ่มผู้สนับสนุนพระมหากษัตริย์ซึ่งถูกล้มล้างโดย[[สาธารณรัฐ]]แล้ว แนวคิดดังกล่าวไม่มีความแตกต่างจาก ''[[ราชาธิปไตยนิยม|ลัทธินิยมราชาธิปไตย]]'' ({{lang-en|monarchism}}) ที่สนับสนุนการปกครองแบบ[[ราชาธิปไตย]]แม้แต่น้อย แต่ต่างกันตรงที่ฝ่ายรอยัลลิสต์ต้องการให้พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจเต็มในไม่ได้ว่าด้วยเรื่องการปกครองราชอาณาจักรอ้างสิทธิในฐานะทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรโดยระบุในธรรมนูญอย่างชัดเจน ซึ่งทางฝ่ายราชาธิปไตยต้องการให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านรัฐสภาราชบัลลังก์
 
ในภาษาไทย บางทีเรียกลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ว่า ''กษัตริยนิยม''<ref name = Thongchai/> ''กษัตริย์นิยม''<ref name = PPIT/> ''ลัทธินิยมเจ้า''<ref name = Thongchai/> ''กระแสนิยมเจ้า''<ref name = Thongchai>ธงชัย วินิจจะกูล, 2548 : ออนไลน์.</ref> หรือ ''ราชวงศนิยม''<ref name = PPIT>Political Prisoners in Thailand, 2549 : ออนไลน์.</ref> ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนเป็นการกล่าวหาจากกลุ่มลัทธิริเบอรัล โดยต้องการให้คนที่ขาดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงได้เข้าใจคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง
 
== ประเทศไทย ==
ใน[[ประเทศไทย]] ลัทธินี้ปรากฏใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]แทบทุกฉบับที่มีมา โดยจะเห็นว่าพระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และมีเพียงความที่ว่า ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆมิได้ เป็นสิ่งที่คอยปกป้องพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งไม่แตกต่างไปจากกฎหมายคุ้มครองในด้านศาสนาต่างๆ เช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560|ฉบับ พ.ศ. 2560]] มาตรา 6 ว่า <ref>[http://th.wikisource.org/wiki/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_๒๕๖๐/หมวด_๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐/หมวด ๒], วิกิซอร์ซ</ref>
 
{{คำพูด|องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้<br/>ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้}}