ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรเบิร์ต บอยล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
'''โรเบิร์ต บอยล์''' ({{lang-en|Robert Boyle}}; [[ภาคีสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน|FRS]]; 25 มกราคม ค.ศ. 1627 – 31 ธันวาคม ค.ศ. 1691) นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของอังกฤษในฐานะผู้คิดค้นกฎของบอยล์ และนักประดิษฐ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผลงานที่โดดเด่นของบอยล์คือ เป็นผู้คิดค้น[[กฎของบอยล์]]<ref name=acottLaw>{{cite journal |author=Acott, Chris |title=The diving "Law-ers": A brief resume of their lives. |journal=South Pacific Underwater Medicine Society journal |volume=29 |issue=1 |year=1999 |issn=0813-1988 |oclc=16986801 |url=http://archive.rubicon-foundation.org/5990 |accessdate=2009-04-17 }}</ref> ซึงกฎของบอยล์ กล่าวว่า ในกรณี
ที่อุณหภูมิของแกสแก๊สไม่เปลี่ยนแปลง ผลคูณระหว่าง ความดันของแก๊ส (P) กับปริมาตรของแก๊ส (V) มีค่าคงตัว (C) เขียนสมการได้ว่า PV=C
'''โรเบิร์ต บอยล์'''เกิดที่ปราสาทลิสมอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศไอร์แลนด์) เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2170 เป็นบุตรคนที่ 7 ในครอบครัวที่มีฐานะดี บิดาชื่อริชาร์ด บอยล์ มีฐานะร่ำรวยที่สุดของอังกฤษในสมัยนั้นและมีฐานันดรศักดิ์สูง คือ เอิร์กแห่งคอร์ก(Eark fo cork) บิดาเป็นคนที่เลี้ยงดูบุตรอย่างเข้มงวดมากในตอนเด็กบอยล์มีความจำที่ดีมากสามารถสนทนาภาษาละตินและฝรั่งเศสได้อย่างคล่องแคล่วตั้งแต่อายุ 8 ขวบ บิดาาจึงส่งไปเรียน Eton college และบอยล์ก็เรียนหนังสือเก่ง เมื่ออายุ 11 ขวบ บอยล์ถูกส่งไปเรียนต่อที่กรุงเจนิวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์และใช้เวลาเรียนกับการเดินทาง เพื่อเพิ่มประสบการณ์ชีวิตในยุโรปนาน 6 ปี จึงเดินทางกลับเพราะได้ข่าวบิดาเสียชีวิตและครอบครัวกำลังแตกแยก เนื่องจากพี่น้องบางคนสนับสนุนกษัตริย์และบางคนสนับสนุน โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Oliver Cromwell) เมื่อกลับถึงอังกฤษ บอยล์เดินทางไปพำนักที่คฤหาสน์สตอลบริดจ์ในดอร์เซต ครั้นเมื่อพี่ชายชื่อโรเจอร์และพี่สาวชื่อเลดี้แรนเนอลาจ์(Lady Ranelagh) เห็นบอยล์มีความสามารถทางภาษาจึงสนับสนุนให้เขาลองทำงานด้านวรรรกรรมกับกวีจอห์น มิลตัน (John Milton)แต่โดยไม่รู้สึกตื่นเต้นหรือสนุกเลยจึงหันไปสนใจวิชาเกษตรศาสตร์และเบนความสนใจไปทางด้านแพทยศาสตร์จนกระทั่งวันหนึ่งบอยล์ได้ไปซื้อยาที่ร้านขายยาและเภสัชกรจ่ายยาผิดทำให้บอยล์ล้มป่วย การไม่สบายครั้งนั้นทำให้เขาหันมาสนใจธรรมชาติของสารอย่างจริงจัง เมื่อบอยล์อายุ 18 ปี ที่Gresham College ในลอนดอนมีแพทย์นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักอุตสาหกรรม มาประชุมพบปะกัน อย่างสม่ำเสมอ เพื่อฟังการบรรยายความรู้วิทยาศาสตร์ของกาลิโอ โคเปอร์นิคัส และเบคอน เรื่องต่างๆที่มีเนื้อหา ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ แพทย์ ฯลฯและบอยล์ก็เดินทางมาประชุมด้วยในปี พ.ศ. 2193 สมาชิกหลายคนของสมาคมได้ย้ายถิ่นฐานไปตั้งรกรากที่เมืองออกซ์ฟอร์ดนานถึง 14 ปี เพราะที่นั่นมีปราชญ์หลายคน เช่น จอห์น วอลลิส (John Wallis) คริสโตเฟอร์ เรน (Christopher Wren)และโรเบิร์ต ฮุก จนกระทั่งวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2203 สมาชิก 12 คน ของสมาคม รวมทั้งบอยล์ก็ร่วมกันจัดตั้งสมาคมวิชาการ ชื่อ Colledge for the promoting of Physico-Mathematicall Experimentall Learning ซึ่งในเวลาต่อมาเปี่ยนชื่อเป็น Royal Society และได้รับการรับรองอย่างถูกกฎหมายในปี พ.ศ. 2205 สมาคมน้เป็นสมาคมวิทยาศาตร์แห่งแรกของโลกที่ยังดำรงสถานภาพอยู่ได้จนทุกวันนี้ ขณะอยู่ที่ออกซ์ฟอร์ด บอยล์ได้อ่านตำราวิทยาศาสตร์ของเบคอนและกาลิเลโอ และหนังสือ Principles of Philosophy ของเดส์การ์ตส์ ความคิดของปราชญ์เหล่านี้เข้ามามีอิทธิพลต่อวิธีคิดของบอยล์ในภายหลังมาก เมื่อบอยล์อ่านผลการทดลองของ เอวันเจ ลิสตา ตอร์รีเชลลี(Evangelista Torricelli) เมื่อปีพ.ศ. 2187เรื่องความดันปรอทในหลอดแก้วคว่ำ เขารู้สึกสนใจประเด็นที่เตอร์รีเชลลีอ้างว่าบริเวณเหนือปรอทมีสุญญากาศตามรูปแบบที่ออตโต ฟอน เกริก(Otto von Guericke)เคยสร้างไว้ ความสามารถในการทำอปกรณ์ของฮุกช่วยให้บอยล์พบว่า เสียงต้องการอากาศในการเคลื่อนที่ เพราะเขาได้ยินเสียง ลูกตุ้มกว่งแผ่วลงๆ เวลาอากาศถูกสูบออกจากขวดแก้วที่บรรจุเทียนไขที่กำลังลุกไหม้จนหมด เทียนไขจะดับส่วนนกและแมวที่อยู่ในภาชนะที่สูบอากาศออกจนหมดก็จะตาย บอยล์จึงสรุปได้ว่าอากาศคือองค์ประกอบสำคัญสำหรับการสันดาปและสำหรับการหายใจของสิ่งมีชีวิตในปีพ.ศ. 2204
แม้งานวิจัยส่วนใหญ่ของบอยล์จะมีรากฐานอยู่กับวิชาเล่นแร่แปรธาตุแบบดั้งเดิม แต่ปัจจุบันเขาได้รับยกย่องให้เป็นนักเคมียุคใหม่คนแรก เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งเคมีแห่งยุคใหม่