ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามังระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แปลบางสว่นมาจากสากล
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 46:
== สงครามจีน-พม่า ==
{{บทความหลัก|สงครามจีน-พม่า}}
สงครามจีน-พม่า เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2308 มีเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างพม่ากับจีนในเรื่องหัวเมืองไทใหญ่ ซึ่งกองทัพพม่าได้ยกเข้าดินแดนไทใหญ่และรุกคืบไปเรื่อยๆ ทำให้พวกเจ้าฟ้าไทใหญ่ได้ไปขอความช่วยเหลือจากจีน แต่จีนก็ยังไม่ส่งกำลังมาช่วยโดยรอเวลาที่เหมาะสมอยู่และเวลานั้นก็มาถึงเมื่อจีนเห็นพม่ากำลังทำศึกติดพันอยู่กับอยุธยา จึงเห็นว่าเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกำราบพม่าลง แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นไปดังนั้นเมื่อกองทัพของพม่าที่นำโดย [[อะแซหวุ่นกี้]] [[เนเมียวสีหตู]] [[บาลามินดิน]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]ที่กลับมาช่วยในภายหลังนั้นกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะต่อกองทัพต้าชิงอันเกรียงไกร ทำให้แม่ทัพของราชวงค์ชิงอย่าง หลิวเจ้าแม่ทัพกองธงเขียว(บุกครั้งที่1) หยางอิงจวี่แห่งกองธงเขียว(บุกครั้งที่2) รวมถึงพระนัดดา[[หมิงรุ่ย]]แห่งแปดกองธง แม่ทัพแมนจูผู้เคยมีประสบการณ์สู้รบกับชาวเติร์กในเอเชียกลางมาแล้วอย่างโชกโชน(บุกครั้งที่3) ต้องฆ่าตัวตายหนีความอัปยศ [[ไฟล์:Royal_Burmese_Army.jpg|thumb|ภาพวาดกองทัพราชวงค์คองบองช่วงปี พ.ศ. 2323 - 2368]]
 
และเวลานั้นก็มาถึงเมื่อจีนเห็นพม่ากำลังทำศึกติดพันอยู่กับอยุธยา จึงเห็นว่าเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกำราบพม่าลง แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นไปดังนั้นเมื่อกองทัพของพม่าที่นำโดย [[อะแซหวุ่นกี้]] [[เนเมียวสีหตู]] [[บาลามินดิน]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]ที่กลับมาช่วยในภายหลังนั้นกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะต่อกองทัพต้าชิงอันเกรียงไกร ทำให้แม่ทัพของราชวงค์ชิงอย่าง หลิวเจ้าแม่ทัพกองธงเขียว(บุกครั้งที่1) หยางอิงจวี่แห่งกองธงเขียว(บุกครั้งที่2) รวมถึงพระนัดดา[[หมิงรุ่ย]]แห่งแปดกองธง แม่ทัพแมนจูผู้เคยมีประสบการณ์สู้รบกับชาวเติร์กในเอเชียกลางมาแล้วอย่างโชกโชน(บุกครั้งที่3) ต้องฆ่าตัวตายหนีความอัปยศ
[[ไฟล์:Royal_Burmese_Army.jpg|thumb|ภาพวาดกองทัพราชวงค์คองบองช่วงปี พ.ศ. 2323 - 2368]]
หลังทรงทราบข่าวความพ่ายแพ้ของหมิงรุ่ย [[จักรพรรดิเฉียนหลง]]ทรงตกพระทัยและกริ้วยิ่งนัก จึงทรงมีรับสั่งเรียกตัวองคมนตรีฟู่เหิงซึ่งเป็นลุงของ[[หมิงรุ่ย]] ผู้เคยมีประสบการณ์ในการรบกับมองโกล พร้อมด้วยแม่ทัพแมนจูอีกหลายนาย เช่นเสนาบดีกรมกลาโหม อากุ้ย แม่ทัพอาหลีกุ่น รวมทั้งเอ้อหนิง สมุหเทศาภิบาลมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ให้เตรียมการยกทัพเข้าโจมตีพม่าเป็นครั้งที่สี่ โดยอาศัยกำลังทั้งจากทัพแปดกองธงและกองธงเขียว การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือด พลัดกันรุกและรับผู้คนล้มตายมากมาย ในการบุกครั้งนี้กองทัพต้าชิงสามารถรุกเข้ามาในดินแดนพม่าได้ลึกพอสมควร