ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แวมไพร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 27:
ในบรรดา รูปแบบสลาวิกดั้งเดิม *ǫpyrь และ *ǫpirь<ref name=Vasmer>{{cite web|url=http://vasmer.narod.ru/p752.htm|title=Russian Etymological Dictionary by [[Max Vasmer]]|accessdate=2006-06-13}} {{ru icon}}</ref> มีความเป็นไปได้ว่ามีรากศัพท์ความหมายของคำว่า "ค้างคาว" (เช็ค netopýr, สโลวัก netopier, โปแลนด์ nietoperz, รัสเซีย нетопырь / netopyr' - ชนิดของค้างคาว), คำในภาษาสโลวักอาจมีรากจาก[[ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน|ภาษาอินโดยูโรเปียน]]ดั้งเดิม จากคำว่า "บิน"<ref name=Vasmer/> ทฤษฎีที่เก่ากว่านี้ที่ว่าว่า ภาษาสลาวิกขอยืมคำจาก[[ภาษากลุ่มเตอร์กิก|ภาษาเตอร์กิก]] คำว่า "แม่มด" (เช่นคำว่า Tatar ubyr)<ref name=Vasmer/><ref>Mladenov, Stefan (1941). Etimologičeski i pravopisen rečnik na bǎlgarskiya knižoven ezik. {{bg icon}}</ref>
 
== ความเชื่อท้องถิ่น ==
ความเชื่อเกี่ยวกับลัทธิแวมไพร์มีมานานกว่าพันปี ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมอย่าง [[เมโสโปเตเมีย]], [[ฮิบรู]], [[กรีกโบราณ]] และ[[โรมัน]] มีเรื่องเล่าของปีศาจและวิญญาณที่ตีความว่าเป็นที่มาของแวมไพร์สมัยใหม่ อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ดูเหมือนสิ่งมีชีวิตคล้ายแวมไพร์ ในสมัยโบราณ ความเชื่อในรูปธรรมที่เรารู้ในปัจจุบันของต้นกำเนิดแวมไพร์ มักมาจากต้น[[ศตวรรษที่ 18]] ทางแถบตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ยุโรป]]<ref name="SU223">Silver & Ursini, pp.&nbsp;22-23.</ref> เมื่อประเพณีการเล่าขานของคนหลายเผ่าพันธุ์ต่างบันทึกและตีพิมพ์ ในกรณีส่วนมาก แวมไพร์คือผีในรูปแบบปีศาจ, [[ผีตายโหง|เหยื่อฆ่าตัวตาย]], หรือผู้ใช้เวทมนตร์คาถา หรือถูกสร้างมาด้วยอำนาจวิญญาณความชั่วร้ายที่ครอบงำศพ หรือถูกกัดโดยแวมไพร์ ความเชื่อต่าง ๆ ในตำนานกระจายไปทั่วท้องที่ที่ก่อให้เกิดความผวาหวาดกลัวและมีการบังคับตามกฎหมายของคนที่เชื่อว่าเป็นแวมไพร์<ref name="Cohen">Cohen, ''Encyclopedia of Monsters'', pp.&nbsp;271–274.</ref><ref>{{cite web|author=William of Newburgh |coauthors=Paul Halsall |authorlink=William of Newburgh |title=Book 5, Chapter 22–24 |work=Historia rerum Anglicarum |publisher=Fordham University |year=2000 |accessdate=2007-10-16 |url=http://www.fordham.edu/halsall/basis/williamofnewburgh-five.html}}</ref>