ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรอเน เดการ์ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| color = #B0C4DE
| image_name = Frans_Hals_-_Portret_van_René_Descartes.jpg
| image_caption = เรอเนเน่ เดการ์ตเดส์การ์ตส์
| name = เรอเนเน่ เดการ์ตเดส์การ์ตส์
| birth = [[31 มีนาคม]], [[พ.ศ. 2139]] ([[ลาแอย็องตูแรน]] [ปัจจุบันคือเดการ์ตเดส์การ์ตส์], [[จังหวัดแอ็งเดรลัวร์]], [[ประเทศฝรั่งเศส]])
| death = [[11 กุมภาพันธ์]], [[พ.ศ. 2193]] ([[สตอกโฮล์ม]], [[ประเทศสวีเดน]])
| school_tradition = [[Cartesianism]], [[Rationalism]], [[Foundationalism]]
บรรทัด 15:
| influenced = [[บารุค สปิโนซา]], [[โทมัส ฮอบส์]], [[Antoine Arnauld|Arnauld]], [[Nicolas Malebranche|Malebranche]], [[แบลซ ปัสกาล|ปัสกาล]], [[จอห์น ล็อก]], [[กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]], [[Henry More|More]], [[อิมมานูเอล คานต์|คานต์]], [[Edmund Husserl|Husserl]], [[โนม ชัมสกี]], [[อีมิล เดอร์ไคหม์]]
| notable_ideas = [[Cogito ergo sum]], method of doubt, [[Mathesis Universalis]], [[ระบบพิกัดคาร์ทีเชียน]], [[Cartesian dualism]], [[ontological argument]] for God's existence; ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐาน[[ปรัชญายุคใหม่]]
}}'''เรอเน่ เดการ์ตส์เดส์การ์ตส์''' ({{lang-fr|René Descartes}}) เป็นทั้ง[[นักปรัชญา]]และ[[นักคณิตศาสตร์]] นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้คิดค้น[[ระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียน]]ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาด้าน[[แคลคูลัส]]ต่อมา
}}
'''เรอเน่ เดการ์ตส์''' ({{lang-fr|René Descartes}}) เป็นทั้ง[[นักปรัชญา]]และ[[นักคณิตศาสตร์]] นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้คิดค้น[[ระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียน]]ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาด้าน[[แคลคูลัส]]ต่อมา
 
เดการ์ตส์ ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไปถึงนักปรัชญารุ่นต่อ ๆ มา โดยรวมเรียกว่าปรัชญากลุ่ม[[เหตุผลนิยม]] ([[:en:rationalism|rationalism]]) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18.
 
== ประวัติ ==
เดการ์ตส์เกิดที่เดส์การ์ตส์เกิดที่[[ประเทศฝรั่งเศส]] เขาสำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายในปี [[ค.ศ. 1616]] แม้ว่าต่อมาเขาจะไม่ได้ประกอบอาชีพเป็นนักกฎหมายแต่อย่างใด ในปี [[ค.ศ. 1618]] เขาเริ่มทำงานให้กับเจ้าชายมัวริสแห่งนาซอ ผู้นำของกลุ่มจังหวัดของฮอลแลนด์ในขณะนั้น ด้วยความหวังว่าจะเอาดีในสายการทหาร และที่นั่นเองที่เขาได้พบกับ [[ไอแซค บีคแมน]] และได้แต่งเพลงชื่อว่า ''[[:en:Compendium Musicae|Compendium Musicae]]''
 
ในปี [[ค.ศ. 1619]] (พ.ศ. 2162) เขาได้เดินทางไปยัง[[ประเทศเยอรมนี]] และในวันที่ 10 พฤศจิกายน ในปีนี้เองที่เขาได้มองเห็นแนวคิดใหม่ของคณิตศาสตร์และระบบทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นในปี ค.ศ. 1622 เขาได้เดินทางกลับไปยังฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1627 เดการ์ตเดส์การ์ตส์ได้อยู่ในเหตุการณ์ยึดเมืองลาโรแชล ([[:en:La Rochelle|La Rochelle]]) ที่นำโดยบาทหลวงรีชลีเยอ ([[:en:Richelieu|Richelieu]])
 
ในปี ค.ศ. 1628 เขาได้แต่ง ''[[Rules for the Direction of the Mind]]'' และได้ย้ายไปอยู่ที่[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ประเทศฮอลแลนด์]] ซึ่งเป็นที่เขาพำนักอยู่จนถึงปี ค.ศ. 1649 ในปี ค.ศ. 1629 เขาได้เริ่มงานเขียนชื่อ ''[[:en:The World (Descartes)|The World]]'' อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้จัดพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ เนื่องจากทราบข่าวการตัดสินคดีของ[[กาลิเลโอ]]ที่มีขึ้นในปี ค.ศ. 1633 เขาได้ลูกสาวในปี ค.ศ. 1635 อย่างไรก็ตามเธอได้เสียชีวิตลงในอีก 5 ปีถัดมา
เส้น 29 ⟶ 28:
เขาได้ตีพิมพ์ ''[[:en:Discourse on Method|Discourse on Method]]'', พร้อมด้วย ''Optics'', ''Meteorology'' and ''Geometry'' ในปีค.ศ. 1637 จากนั้นในปี ค.ศ. 1641 (พ.ศ. 2184) หนังสือชื่อ ''[[การครุ่นคิดเกี่ยวกับปรัชญาที่หนึ่ง]]'' (''[[:en:Meditations on First Philosophy|Meditations on First Philosophy]]'') ก็ได้ถูกจัดพิมพ์ขึ้นพร้อมด้วยบทความรวมข้อโต้เถียงและคำตอบส่วนแรกที่มี 6 ชุด ในปี 1642 ''Meditations'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่สองก็ได้รับการจัดพิมพ์พร้อมด้วยบทความรวมข้อโต้เถียงทั้งหมด 7 ชุด
 
ในปี ค.ศ. 1643 ระบบคิดทางปรัชญาของเขาถูกประณามที่มหาวิทยาลัยแห่งอูเทรช และเขาได้เริ่มเขียนติดต่อกับพระนางเจ้าอลิซาเบทแห่งโบฮีเมีย ([[:en:Elizabeth of Bohemia|Princess Elizabeth]]) เดการ์ตพิมพ์เดส์การ์ตส์พิมพ์ ''[[:en:Principles of Philosophy|Principles of Philosophy]]'' และเดินทางไปยังฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1644 และในปี ค.ศ. 1647 ได้รับรางวัลเป็นค่าใช้จ่ายรายเดือนโดยพระราชาแห่งฝรั่งเศส หลังจากนั้นเขาก็ได้พิมพ์หนังสืออีกหลายเล่มเช่น ''[[:en:Comments on a Certain Broadsheet|Comments on a Certain Broadsheet]]'' ''[[:en:The Description of the Human Body|The Description of the Human Body]]'' และ ''[[:en:Conversation with Burman|Conversation with Burman]]''. ในปี ค.ศ. 1649 เขาได้เดินทางไป[[ประเทศสวีเดน]] ภายใต้คำเชิญของพระนางเจ้าคริสตินา ([[:en:Queen Christina|Queen Christina]]) และในปีนั้นหนังสือ ''[[:en:Passions of the Soul|Passions of the Soul]]'' ที่อุติอุทิศแด่พระนางเจ้าอลิซาเบทแห่งโบฮีเมียได้รับการจัดพิมพ์ขึ้น
 
เรอเนเน่ เดการ์ตส์เดส์การ์ตส์เสียชีวิตเนื่องจาก[[นิวโมเนีย]]ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1650 (พ.ศ. 2193) ที่[[สตอกโฮล์ม|กรุงสตอกโฮล์ม]] ประเทศสวีเดน เนื่องจากเขาเป็นชาวแคทอลิกในประเทศโปรเตสแตนต์ ศพของเขาจึงถูกฝังที่สุสานสำหรับทารกที่ไม่ได้ผ่านพิธีรับศีล หลังจากนั้นศพของเขาบางส่วนถูกนำไปประกอบพิธีที่ฝรั่งเศส และในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส|ปฏิวัติฝรั่งเศส]]ศพของเขาก็ถูกย้ายไปฝังที่พาเทนอลในปารีส ร่วมกับนักคิดชาวฝรั่งเศสผู้ยิ่งใหญ่ท่านอื่น ๆ เมืองเกิดของเขาได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น ''La Haye - Descartes''
 
ในปี ค.ศ. 1667 หลังจากที่เขาเสียชีวิต [[ศาสนจักรโรมันคาทอลิก]] ได้ใส่งานของเขาเข้าไปในรายการหนังสือต้องห้าม ([[:en:Index Librorum Prohibitorum|Index of Prohibited Books]])
 
== ผลงานที่สำคัญ ==
เดการ์ตส์เดส์การ์ตส์ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักคิด "แห่งยุคสมัยใหม่" คนแรก เนื่องจากเป็นผู้วางรากฐานทางปรัชญาให้กับ[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]] ในหนังสือ ''[[การครุ่นคิดเกี่ยวกับปรัชญาที่หนึ่ง]]'' (''[[:en:Meditations on First Philosophy|Meditations on First Philosophy]]'') เดการ์ตส์เดส์การ์ตส์พยายามหากลุ่มของหลักการที่สามารถเชื่อถือได้ว่าจริง '''โดยปราศจากข้อสงสัย''' เขาได้ใช้วิธีการที่เรียกว่า [[กังขาคติเชิงวิธีวิทยา]] ([[:en:Methodological Skepticism|Methodological Skepticism]]) กล่าวคือ เขาจะสงสัยกับทุก ๆ ความคิดที่สามารถจะสงสัยได้
 
เขายกตัวอย่างของการฝัน: ในความฝัน ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของเราอาจรับรู้อะไรได้เหมือนจริง แต่สิ่งที่เรารับรู้นั้นล้วนไม่มีอยู่จริง ดังนั้น เราจึงไม่สามารถรับประกันได้ว่าข้อมูลที่ได้จากประสาทสัมผัสนั้น เป็นสิ่งที่ต้องเป็นความจริง ไม่แน่ว่าอาจมี "ผู้จ้องทำลายที่ร้ายกาจ" ที่สามารถปิดบังเราจากการรับรู้ธรรมชาติที่แท้จริงของสรรพสิ่งได้ เมื่ออาจมีความเป็นไปได้เหล่านี้แล้ว จะเหลืออะไรบ้างที่เราสามารถเชื่อได้อย่างแท้จริง?
 
เดการ์ตส์เดส์การ์ตส์พบความเป็นไปได้เพียงข้อเดียว: ถ้าฉันถูกหลอกได้ นั่นแปลว่า "ฉัน" จะต้องมีอยู่จริง วาทะที่โด่งดังของความคิดนี้คือ "''cogitoje ergopense sumdonc je suis"'' (หรือ "เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่") (คำพูดนี้ไม่ได้ถูกเขียนไว้ใน ''การครุ่นคิด'' แต่เขาได้เขียนไว้ในงานชิ้นก่อน ''Discourse on Method'')
 
ดังนั้น เขาจึงสรุปว่าเขาสามารถแน่ใจได้ว่าเขามีอยู่จริง แต่คำถามก็คือเขานั้นมีอยู่ในรูปแบบใด? การที่ประสาทสัมผัสบอกว่าเรามีร่างกายอยู่นั้น ก็ไม่ใช่สิ่งที่จริงแท้ดังที่เขาได้พิสูจน์มาแล้ว เดการ์ตส์สรุปที่จุดนี้ว่า เขาสามารถกล่าวได้แค่ว่าเขาเป็น 'อะไรบางสิ่งที่กำลังคิด' เท่านั้น การกำลังคิดนั้นเป็นแก่นสารที่แท้ของเขา เนื่องจากว่าเป็นสิ่งเดียวเท่านั้นที่อยู่เหนือการสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น
เส้น 48 ⟶ 47:
"''ดังนั้น สิ่งที่ฉันคิดว่าฉันเห็นด้วยตานั้น จริงแล้วฉันรู้มันโดยผ่านทางเครื่องมือสำหรับตัดสินใจ นั่นก็คือจิตของฉัน''"
 
เขาใช้วิธีในลักษณะนี้ในการสร้างระบบความรู้ โดยละทิ้ง[[สัญชาน]] (ข้อมูลที่ได้จากการรับรู้ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้งห้า) เนื่องจากเชื่อถือไม่ได้ และยอมรับความรู้ที่สร้างผ่านทาง[[การนิรนัย]]เท่านั้น ในช่วงกลางของ ''การครุ่นคิด'' เขายังได้อ้างว่าได้พิสูจน์การมีอยู่ของ[[พระเป็นเจ้า|พระเจ้า]]ที่มีเจตนาดี ผู้มอบจิตที่สามารถทำงานได้ให้กับเขารวมถึง[[ระบบรับรู้]] และจะไม่หลอกลวงเขา ดังนั้นเขาจึงสามารถแสดงความเป็นไปได้ในการสร้างความรู้เกี่ยวกับโลก โดยใช้การนิรนัย ''ร่วมกับ'' ข้อมูลที่ได้จากการรับรู้ผ่านทางประสาทสัมผัส
 
[[นักคณิตศาสตร์]]ยกย่องเดการ์ตจากการค้นพบ[[เรขาคณิตวิเคราะห์]] ในยุคสมัยของเดการ์ตนั้น [[เรขาคณิต]]ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับเส้นและรูปร่าง กับ[[พีชคณิต]]ที่ศึกษาเกี่ยวกับตัวเลข ถูกจัดว่าเป็นสาขาย่อยของคณิตศาสตร์ที่ไม่เกี่ยวข้องกันเลย เดการ์ตส์แสดงวิธีการแปลงปัญหาในเรขาคณิตมากมาย ให้เป็นปัญหาทางพีชคณิต โดยใช้[[ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน]]ในการอธิบายปัญหา
 
ทฤษฎีของเดการ์ตส์เดส์การ์ตส์เป็นพื้นฐานของ[[แคลคูลัส]]ของ[[ไอแซก นิวตัน|นิวตัน]]และ[[กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ|ไลบ์นิซ]] ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ทั้ง ๆ ที่งานในส่วนนี้เดการ์ตเดส์การ์ตส์ตั้งใจจะใช้เพื่อเป็นเพียงแค่ตัวอย่าง ในหนังสือ ''Discourse on Method'' เท่านั้น
 
== ผลงานเขียน ==