ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่จำเป็นต้องเอากรุงเทพมาเทียบ เพราะกรุงเทพไม่ใช่ภาษากลางของภาษาไทย
บรรทัด 90:
 
* '''สำเนียงพระตะบอง''' พูดทางแถบภาคเหนือของประเทศกัมพูชา
* '''สำเนียงพนมเปญ''' เป็นสำเนียงกลางของกัมพูชาเช่นเดียวกับสำเนียงกรุงเทพฯของไทย โดยจะพูดในพนมเปญและจังหวัดโดยรอบเท่านั้น
* '''[[ภาษาเขมรเหนือ|สำเนียงเขมรบน]]''' หรือ '''ภาษาเขมรถิ่นสุรินทร์''' พูดโดย[[ชาวไทยเชื้อสายเขมร]]ในแถบอีสานใต้ โดยเฉพาะใน[[จังหวัดสุรินทร์]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] [[จังหวัดร้อยเอ็ด]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] เป็นต้น
* '''สำเนียงแขมรกรอม''' หรือ '''ภาษาเขมรถิ่นใต้''' พูดโดยชาวเขมรที่อาศัยแถบสามเหลี่ยมปาก[[แม่น้ำโขง]]ใน[[ประเทศเวียดนาม]]
บรรทัด 123:
 
=== คำยืมภาษาไทย ===
ในภาษาเขมรนั้นไทยมีการยืมคำภาษาไทยยืมมาใช้เป็นจากภาษาเขมรจำนวนมาก โดยติดมากับการค้าขาย โดยคำที่ยืมมาจะมีหลักสังเกตได้ง่าย เช่น ในภาษาเขมรแท้ๆ จะไม่มีหน่วยเสียง /f/ (เสียง ฝ ฟ) พยัญชนะเขมรจึงไม่มีการประดิษฐ์อักษรที่แทนหน่วยเสียงนี้โดยชัดเจน แต่จะใช้ตัว ហ ซ้อนกับเชิงของ វ เป็น ហ្វ แทนเสียง /f/ ที่เป็นคำยืมในภาษาต่างๆ โดยเฉพาะภาษาไทย
 
=== คำยืมภาษาไทยที่เป็นการนับเลข ===