ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกกระจอกเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7115794 สร้างโดย 61.19.201.18 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
ขนาดโตเต็มที่สูงประมาณ 2 – 2.5 เมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่จะหนักประมาณ 160 กิโลกรัม มีอายุยืนได้ถึง 65 – 75 ปี หัวเล็ก คอยาว ตาโต ขนตายาว มีขาใหญ่แข็งแรง บินไม่ได้แต่วิ่งได้เร็ว ลูกนกอายุเพียง 2-3 วันก็จะวิ่งได้แล้ว หากินในทุ่งกว้างเป็นฝูงใหญ่ อยู่ร่วมฝูงกับ[[ม้าลาย]]และ[[ยีราฟ]] การต่อสู้ป้องกันตัวของนกกระจอกเทศจะกระโดดเตะได้ ระวังตัวสูง จึงหลบหลีกสัตว์กินเนื้อได้ดี ไข่ของนกกระจอกเทศเป็นไข่นกที่ใหญ่ที่สุดในโลก กินพืช, เมล็ดพืช, ผลไม้สุกและสัตว์ตัวเล็ก ๆ โดยใช้ปากงับแล้วกระดกเข้าลำคอ จากนั้นยืดคอให้ตรง ให้อาหารไหลลงไปตามหลอดอาหารในลำคอ นอกจากนั้น ยังชอบกินของแปลกปลอม โดยเฉพาะสิ่งที่สะท้อนแสงได้ เช่น นาฬิกา, ขวดพลาสติก
 
ในประเทศไทย ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]เหมือนในหลายประเทศ นกกระจอกเทศถูกนำเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในปลาย[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยา]] ในรัชสมัย[[พระเจ้าเอกทัศ]] ตามบันทึกใน[[พงศาวดาร]][[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่า ราชทูต[[ชาวอังกฤษ]]นำนกกระจอกเทศพร้อมสิงโตและม้าเทศจากแอฟริกาเข้ามาถวายเป็นบรรณาการ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เลี้ยงไว้ในพระราชวัง<ref>หน้า 151, ''คำให้การชาวกรุงเก่า'' โดย สำนักพิมพ์จดหมายเหตุ ([[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-87895-7-8</ref> <ref>[http://www.dld.go.th/service/ostrich/frist_os.html การเลี้ยงนกกระจอกเทศ:กรมปศุสัตว์]</ref>
 
นอกจากนี้แล้ว นกกระจอกเทศยังทำให้เกิดความเข้าใจผิดอีกว่า เมื่อเวลาตกใจหรือเกิดความหวาดกลัวขึ้นมาจะใช้หัวซุกหรือมุดลงในทราย จนเป็นที่มาของสำนวนในภาษาอังกฤษว่า "bury your head in the sand like an ostrich" (ซ่อนหัวของคุณในทรายเหมือนนกกระจอกเทศ) อันหมายถึง คนขี้ขลาดหรือคนที่ไม่กล้าเผชิญหน้ากับปัญหาหรือความเป็นจริง แต่ความจริงแล้วนกกระจอกเทศมิได้มีพฤติกรรมเช่นนั้น เชื่อว่าคงจะเป็นการเข้าใจผิดจากการที่มองเห็นนกกระจอกเทศในระยะไกลมากกว่า แท้ที่จริงแล้วคงเป็นพฤติกรรมที่ก้มหัวลงใช้จะงอยปากพลิกไข่ในหลุมขนาดใหญ่วันละหลายครั้งมากกว่า <ref name=หน้า>หน้า 8 ทัศนะ, ''นกกระจอกเทศ ก้อนเมฆ และปัญหา''. "กรุงเทพธุรกิจ อาหารสมอง" โดย วรากรณ์ สามโกเศศ. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 31 ฉบับที่ 10645: วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560</ref>
ในประเทศ ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]เหมือนในหลายประเทศ นกกระจอกเทศถูกนำเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในปลาย[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยา]] ในรัชสมัย[[พระเจ้าเอกทัศ]] ตามบันทึกใน[[พงศาวดาร]][[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่า ราชทูต[[ชาวอังกฤษ]]นำนกกระจอกเทศพร้อมสิงโตและม้าเทศจากแอฟริกาเข้ามาถวายเป็นบรรณาการ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เลี้ยงไว้ในพระราชวัง<ref>หน้า 151, ''คำให้การชาวกรุงเก่า'' โดย สำนักพิมพ์จดหมายเหตุ ([[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-87895-7-8</ref> <ref>[http://www.dld.go.th/service/ostrich/frist_os.html การเลี้ยงนกกระจอกเทศ:กรมปศุสัตว์]</ref>
 
==กายวิภาคศาสตร์ของนกกระจอกเทศ==
เส้น 53 ⟶ 54:
อวัยวะสืบพันธ์เพศเมียประกอบด้วยรังไข่ 1 อัน และมีปุ่มคลิตอริส (Clitoris) เล็ก ๆ อยู่บน ventral cloaca
 
==ในเชิงเศรษฐกิจ==
==สายพันธุ์นกกระจอกเทศ==
มนุษย์รู้จักและใช้ประโยชน์จากนกกระจอกเทศมาเป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 5,000 ปีแล้ว โดยใช้เนื้อและไข่ในการบริโภคส่วนขนในการทำเครื่องประดับและเครื่องนุ่งห่มต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันก็ได้กลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกประการหนึ่ง<ref name=หน้า/>
 
===สายพันธุ์นกกระจอกเทศ===
นกกระจอกเทศมีหลายสี แต่ละสีแสดงพันธุ์ที่แตกต่างกัน แบ่งได้3 ชนิด ตามสีขน ดังนี้
 
เส้น 64 ⟶ 68:
3. นกกระจอกเทศพันธุ์คอน้ำเงิน (Blue Neck)
มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางตอนเหนือ ตะวันตก หรือทางตอนใต้ของแอฟริกาและเป็นนกกระจอกเทศป่า พัฒนามาจากพันธุ์ S. molybdophanes และ S.australis นกกระจอกเทศพันธุ์นี้จะมีผิวหนังสีฟ้าอมเทา ในตัวผู้จะมีผิวหนังสีฟ้าอมเทาบนคอ ขา และต้นขา มีเพียงหน้าแข้งเท่านั้นที่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงในฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกเทศตัวเมียที่โตเต็มที่จะมีสีฟ้าอมเทา ขนของตัวผู้ที่โตเต็มที่จะเป็นสีดำแซมขาว ในขณะที่ขนของตัวเมียจะมีสีเทาจางๆถึงน้ำตาลเทา ให้เนื้อน้อยกว่าพันธุ์คอแดง แต่ให้ไข่มากกว่า
===การเลือกทำเลในการเลี้ยงนกกระจอกเทศ===
นกกระจอกเทศเป็นสัตว์ที่ใช้ชีวิตในพื้นที่ป่าโปร่งแบบทุ่งหญ้า พื้นที่ราบแบบทะเลทรายที่มีพืชอาหารที่อุดมสมบูรณ์ นกชนิดนี้มีพฤติกรรมที่วิ่งเร็วมาก ชอบใช้ชีวิตแบบอิสระ และเป็นสัตว์ที่ตกใจง่าย ดังนั้นพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงนกกระจอกเทศ คือ
* พื้นที่เป็นที่ดอน ไม่มีน้ำท่วมขัง สามารถปลูกพืชอาหารสัตว์ได้
เส้น 72 ⟶ 76:
* มีแหล่งน้ำที่สะอาดสามารถให้นกกินได้ตลอดปี
 
===การผสมพันธุ์ของนกกระจอกเทศ===
นกกระจอกเทศถ้าปล่อยเลี้ยงธรรมชาติจะถึงอายุผสมพันธุ์เมื่อเพศผู้อายุราว 3-4 ปีขึ้นไปส่วนเพศเมียอายุประมาณ 2 ปีครึ่ง ขึ้นไป แต่นกกระจอกเทศที่เลี้ยงเป็นฟาร์ม จะผสมพันธุ์เมื่อเพศผู้มีอายุ 2 ปีครึ่งขึ้นไป เพศเมียอายุ 2 ปีขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอาหารและการจัดการเป็นหลัก อัตราส่วนการผสมพันธุ์คือ เพศผู้ 1 ตัว ต่อเพศเมีย 1-3 ตัว นกกระจอกเทศจะผสมพันธุ์ในช่วงที่มีอากาศเย็นและแห้ง ซึ่งอยู่ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม
 
เส้น 91 ⟶ 95:
* อัตราการตายของลูกนก
 
===ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการเลี้ยงนกกระจอกเทศ===
ปัญหาที่พบในการเลี้ยงนกกระจอกเทศมีดังนี้
* ลูกนกมีมาตรฐานอายุต่ำกว่าเกณฑ์ที่คาดไว้ ปัญหานี้อาจมีผลมาจากภาวะโภชนาการไม่ดี ไข่ถูกเก็บไว้นานเกินไป กระบวนการฟักไม่ถูกต้อง หรือห้องฟักไม่ถูกสุขอนามัย
เส้น 106 ⟶ 110:
* การเก็บขน ลูกนกอายุ 6 เดือนควรเล็มก้านขนนก, อายุ7 เดือน ควรถอนขนร่างกายที่เจริญเต็มที่, อายุ 8 เดือนถอนขนนก
 
===โรคที่พบในนกกระจอกเทศ===
สาเหตุของโรคส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้และโภชนาการด้านอาหารที่ไม่เหมาะสม โรคที่พบส่วนใหญ่ได้แก่ โรคดังต่อไปนี้
* โรคที่เกิดจาก[[พยาธิตัวกลม]] (Nematoda) เป็นสาเหตุของการระคายตาและเป็นขี้ตา
เส้น 114 ⟶ 118:
* โรคที่เกิดจาก[[เชื้อรา]] (Fungal infection) ทำให้เกิดโรคขาดสารอาหาร
 
===การรักษา===
สำหรับการรักษาโรคที่เกิดในนกกระจอกเทศสามารถทำได้ดังนี้
* อาจใช้[[ยาปฏิชีวนะ]]