ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะขาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
123
บรรทัด 33:
 
ยอดอ่อนและฝักอ่อนมี[[วิตามิน เอ]] มาก มะขามเปียกรสเปรี้ยว ทำให้ชุ่มคอ ลดความร้อนของร่างกายได้ดี เนื้อในฝักมะขามที่แก่จัด เรียกว่า "มะขามเปียก" มะขามเปียกอุดมด้วยกรดอินทรีย์ อาทิ [[กรดซิตริก]] (Citric Acid) [[กรดทาร์ทาริก]](Tartaric Acid) หรือ[[กรดมาลิก]](Malic Acid) เป็นต้น มีคุณสมบัติชำระล้างความสกปรกรูขุมขน คราบไขมันบนผิวหนังได้ดี
=== สมุนไพรของแมวและแอน ===
* แก้อาการท้องผูกถ่ายไม่ออก ใช้เนื้อฝักแก่หรือมะขามเปียก 10–20 ฝัก (หนักประมาณ 70–150 กรัม) จิ้มกับเกลือรับประทาน หรือใส่เกลือเติมน้ำคั้นดื่ม
* แก้อาการท้องเดินกองทัพ ใช้เปลือกต้น ทั้งสดหรือแห้งประมาณ 1–2 กำมือ (15–30 กรัม) ต้มกับน้ำปูนใสหรือน้ำรับประทาน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มะขาม"