ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำผิด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| เว็บ = [http://www.mahidol.ac.th/ www.mahidol.ac.th]
}}
 
'''มหาวิทยาลัยมหิดล''' เป็น[[มหาวิทยาลัยรัฐ]]ของ[[ประเทศไทย]] มีประวัติศาสตร์ยาวนานที่สุด โดยมีชื่อเสียงในสาขา[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] [[สาธารณสุข]] [[วิทยาศาสตร์]] [[วิศวกรรมศาสตร์]]และ[[เทคโนโลยี]] ดุริยางคศาสตร์ และ[[สังคมศาสตร์]]เฉพาะด้าน นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในแวดวงวิชาการอย่างมาก ซึ่งดูได้จากการที่มหาวิทยาลัยมีจำนวน[[ผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย|ผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ]] จำนวน[[นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น]] และผู้ดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] มากที่สุดในประเทศไทย
 
เส้น 25 ⟶ 24:
มหาวิทยาลัยมหิดลมี 4 [[วิทยาเขต]] โดยตั้งอยู่ที่ [[กรุงเทพมหานคร]], [[จังหวัดนครปฐม]], [[จังหวัดกาญจนบุรี]] และ [[จังหวัดนครสวรรค์]]
 
== ประวัติ ==
: ''ดูบทความหลักได้ที่ [[ประวัติมหาวิทยาลัยมหิดล]]''
มหาวิทยาลัยมหิดล มีความเป็นมาจาก [[โรงศิริราชพยาบาล]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างขึ้นบริเวณวังของ[[กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]] หรือที่เรียกว่า วังหลัง<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/005/34_1.PDF ว่าด้วยกอมิตีผู้จัดการโรงพยาบาล ตั้งคณะกรรมการพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาล (ที่วังกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขฝ่ายหลัง (วังหลัง)], เล่ม ๔, ตอน ๕, ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๓๐, หน้า ๓๔ </ref> ต่อมา จึงมีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ ณ โรงศิริราชพยาบาล และตั้งชื่อโรงเรียนแพทย์ว่า '''โรงเรียนแพทยากร'''<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/007/91_2.PDF แจ้งความกระทรวงพระธรรมการ แผนกกรมพยาบาล เปิดโรงเรียนแพทยากร] </ref> จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร 3 ปี หลังจากนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกของโรงเรียนแพทย์ จึงได้พระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า '''โรงเรียนราชแพทยาลัย'''
 
มหาวิทยาลัยมหิดล มีความเป็นมาจาก [[โรงศิริราชพยาบาล]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างขึ้นบริเวณวังของ[[กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]] หรือที่เรียกว่า วังหลัง<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/005/34_1.PDF ว่าด้วยกอมิตีผู้จัดการโรงพยาบาล ตั้งคณะกรรมการพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาล (ที่วังกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขฝ่ายหลัง (วังหลัง)], เล่ม ๔, ตอน ๕, ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๓๐, หน้า ๓๔ </ref> ต่อมา จึงมีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ ณ โรงศิริราชพยาบาล และตั้งชื่อโรงเรียนแพทย์ว่า '''โรงเรียนแพทยากร'''<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/007/91_2.PDF แจ้งความกระทรวงพระธรรมการ แผนกกรมพยาบาล เปิดโรงเรียนแพทยากร] </ref> จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร 3 ปี หลังจากนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดตึกของโรงเรียนแพทย์ จึงได้พระราชทานนามโรงเรียนแพทยากรใหม่ว่า '''โรงเรียนราชแพทยาลัย'''
[[ภาพ:Statue of Mahidol Adulyadej.JPG|thumb|230px|พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก ณ [[โรงพยาบาลศิริราช]]]]
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็น "[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]" จึงได้รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้าเป็นคณะหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ [[6 เมษายน]] [[พ.ศ. 2460]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/21.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่อง รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้ากับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref> โดยใช้ชื่อว่า "คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" ต่อมา จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล"
 
เมื่อวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2486]] ได้แยก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล [[คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะทันตแพทยศาสตร์]] [[คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |คณะเภสัชศาสตร์]] และ[[คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย| คณะสัตวแพทยศาสตร์]] จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งเป็น '''มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์''' <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2486/A/007/212.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ พุทธศักราช ๒๔๘๖]</ref> สังกัด[[กระทรวงการสาธารณสุข]] โดยได้จัดตั้งคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยมากมาย เช่น [[คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี]] [[คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท]] [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะเภสัชศาสตร์]] นอกจากนี้ ยังมีการโอนคณะแพทยศาสตร์ [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] ไปเป็น [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ ไปเป็น [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
 
ต่อมา ในวันที่ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2512]] [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์แบบ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า '''มหาวิทยาลัยมหิดล''' อันเป็นพระนามของ[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]]เป็นชื่อมหาวิทยาลัยแทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เดิม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/A/017/4.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๑๒]</ref>
เส้น 38 ⟶ 36:
ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหิดลจัดการเรียนการสอนภายในคณะ สถาบัน วิทยาลัยต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
 
== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
<gallery><gallery>
ภาพ:Mahidolsym.jpg|'''ตราประจำมหาวิทยาลัย'''
เส้น 44 ⟶ 42:
</gallery>
 
* '''ตรามหาวิทยาลัย''' ได้แก่ พระมหาพิชัยมงกุฎภายใต้ จักรกับตรีศูล และอักษร ม ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานเมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2512]] โดย
** [[พระมหาพิชัยมงกุฎ]] คือ ศิราภรณ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญ แสดงว่า ทรงเป็น[[พระมหากษัตริย์]]
** [[จักร]] กับ [[ตรีศูล]] คือ ตราเครื่องหมายประจำพระบรม[[ราชวงศ์จักรี]] พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย
** อักษร "ม" มาจากคำว่า "มหิดล"
* '''ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย''' ได้แก่ [[กันภัยมหิดล|ต้นกันภัยมหิดล ]] ซึ่ง [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ประทานพระราชวินิจฉัยชี้ขาดให้ "ต้นกันภัยมหิดล" เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2542]]<ref>[http://www.mahidol.ac.th/muthai/history/afgekia.htm ต้นกันภัยมหิดล]</ref>
* '''สีประจำมหาวิทยาลัย''' ได้แก่ สีน้ำเงินแก่ เป็นสีแห่งความเป็นราชขัติยนุกูลแห่งบรมราชวงศ์ ซึ่ง[[สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์]] (พระยศในขณะนั้น) พระราชทานเมื่อวันที่ [[23 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2512]]<ref> [http://www.mahidol.ac.th/muthai/history/history.htm สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย : สีน้ำเงินแก่] </ref>
 
== ทำเนียบอธิการบดี ==
เส้น 99 ⟶ 97:
|}
 
== การศึกษา ==
มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระบบหน่วยกิต ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทั้งสิ้น 551 สาขาวิชา<ref>[http://www2.mahidol.ac.th/fac/courses.htm Mahidol University : Academic Courses of Study Offered]</ref> ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์ ทั้งในหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศ<ref>จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามประเภทสถาบันและระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2546, สำนักส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา</ref>
 
ในปี [[พ.ศ. 2548]] มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีปริมาณนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด <ref>รายงานประจำปี 2549 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา</ref> และใน [[พ.ศ. 2549]] และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติจากนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Export Award 2006) เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด (Most recognized service) ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ [[28 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ณ [[ทำเนียบรัฐบาล#อาคารในทำเนียบรัฐบาล|ตึกสันติไมตรี]] [[ทำเนียบรัฐบาล]]<ref> [http://gotoknow.org/blog/council/51274 PM Award ประเภทธุรกิจบริการกลุ่มการศึกษานานาชาติที่ได้รับความนิยมจากต่างประเทศมากที่สุด] </ref> ปัจจุบัน มีหน่วยงานในสังกัด ดังนี้
 
=== คณะ ===
{{บน}}
*[[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล|บัณฑิตวิทยาลัย]]
เส้น 125 ⟶ 123:
{{ล่าง}}
 
=== วิทยาลัย ===
{{บน}}
* [[วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล|วิทยาลัยการจัดการ]]
เส้น 136 ⟶ 134:
{{ล่าง}}
 
=== สถาบัน ===
{{บน}}
* สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้[http://www.il.mahidol.ac.th]
เส้น 206 ⟶ 204:
== อันดับและมาตรฐานการศึกษา ==
''ดูบทความหลักที่ [[อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย]]''
 
มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเลิศ และเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ทั้งในด้านการเรียนการสอนและการวิจัย จาก[[อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย|การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของไทย]] โดย [[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]]<ref name="อันดับ"/>
 
เส้น 220 ⟶ 217:
== บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล ==
''ดูบทความหลักที่ [[รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล]]''
 
คณาจารย์และบุคคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดลนั้นได้รับแต่งตั้งเป็น[[นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย]]มากที่สุด และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] มากที่สุดในประเทศไทย <ref>[http://www.mua.go.th/infodata/49/personal49.xls จำนวนบุคลากรในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ปี 2549]</ref> โดยมีรายพระนาม และรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัย เช่น
*[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] ผู้ทรงบุกเบิกการแพทย์แผนใหม่ในประเทศไทย ผู้ทรงเป็นที่มาแห่งนาม 'มหิดล'
เส้น 228 ⟶ 224:
 
==อ้างอิง==
<!--วิธีแก้ส่วนนี้ ให้แก้จากข้อความที่อ้างอิงมา -->
<references />
 
เส้น 236 ⟶ 231:
* [[โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13793406&x=100322514&z=14&l=35&m=a&v=2|ชื่อ=มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา}}
* [http://www.mahidol.ac.th/ มหาวิทยาลัยมหิดล]
เส้น 242 ⟶ 237:
* [http://www.mahidol.ac.th/muthai/academics/academic.htm หลักสูตรมหาวิทยาลัยมหิดล]
* [http://www.mahidol.ac.th/muthai/address/address.htm สถานที่ตั้งหน่วยงานในมหาวิทยาลัยมหิดล]
 
{{geolinks-bldg|13.793406|100.322514}}