ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางเสือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า พระนางเสือง ไปยัง นางเสือง ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Thai.60 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7299563 สร้างโดย พุทธามาตย์ (พูดคุย)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:พระนางเสือง.jpg|thumb|170px|เทวรูปพระแม่ย่า ที่แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปของพระนารายณ์]]
 
'''นางพระนางเสือง''' เป็นพระอัครมเหสีใน[[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]] และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์อีกสองพระองค์คือ [[พ่อขุนบานเมือง]]และ[[พ่อขุนรามคำแหง]] แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีความกังขาเกี่ยวกับตัวตนของพระนางว่ามีจริงหรือเป็นเพียงเรื่องที่แต่งขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์<ref name="มติชน">{{cite web |url=http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1359085271|title= "นางเสือง" เป็นนิยาย ประวัติศาสตร์การเมือง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 25 มกราคม พ.ศ. 2556 |work= |publisher= มติชนออนไลน์ |accessdate=23 พฤศจิกายน 2557}}</ref>
 
== พระราชประวัติ ==
นางพระนางเสือง มีพระราชประวัติประวัติค่อนข้างน้อยนัก ประสูติพระราชสมภพเมื่อใดที่ไหนหรือสวรรคตเมื่อใดไม่ทราบความ ปรากฏพระองค์ครั้งแรกและครั้งเดียวจากเนื้อความใน''[[จารึกพ่อขุนรามคำแหง]]'' ความว่า "พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูกูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงสอง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก..." แสดงให้เห็นว่าพระนางมีพระราชโอรส-ธิดา 5 พระองค์ เป็นพระราชโอรสสามพระองค์ กับพระราชธิดาอีกสองพระองค์<ref>{{cite web |url=http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=47|title= ศิลาจารึก |author=พ่อขุนรามคำแหง|date=พ.ศ. 1835|work= |publisher= ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.lib.ru.ac.th/pk/biography1.html|title= พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ |author= |date=|work= |publisher= สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref><ref>ธวัช ปุณโณทก. ''อักษรไทยโบราณ ลายสือไทย และวิวัฒนาการของชนชาติไทย''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 97</ref> และปรากฏอีกครั้งว่า "เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู..."<ref>{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 25}}</ref> แสดงให้เห็นว่าพระองค์ได้รับการปรนนิบัติพัดวีอย่างดีจากพระราชโอรสคือ พ่อขุนรามคำแหงนั่นเอง
 
ส่วนพระนาม "เสือง" นั้น เป็น[[ภาษาลาว]] แปลว่า "รุ่งอรุณ" สอดคล้องกับพระนามพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ที่มีความว่า "ผู้ทรงไว้ซึ่งความสว่าง"<ref name="มติชน"/> ทั้งนี้มีการสันนิษฐานกันว่า นางพระนางเสือง อาจจะเป็นพระราชภคินีของ[[พ่อขุนผาเมือง]]ก็เป็นได้<ref>{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 19}}</ref>
 
ส่วนเทวรูปที่พบที่โซกพระแม่ย่านั้น แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปพระนารายณ์ เพียงแต่ได้รับการนับถือที่เปลี่ยนไปตามความเชื่อของชาวเมือง<ref>กนกวรรณ โสภณวิจิตร. ''ประวัติศาสตร์สุโขทัย''. กรุงเทพฯ:สารคดี, 2554, หน้า 113</ref> ส่วนที่ชาวเมืองเรียกเทวรูปดังกล่าวว่าพระแม่ย่านั้น ทองเจือ สืบชมภู สันนิษฐานว่าคงเป็นนางกษัตริย์องค์ใดองค์หนึ่ง ซึ่งก็คือนางพระนางเสือง ผู้เป็นพระราชมารดาของพ่อขุนรามคำแหง และเป็นพระราชอัยยิกา (ย่า) ของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 1]]<ref>{{cite web |url=http://www.sukhothai.go.th/tour/tour_09.htm|title= ศาลพระแม่ย่า |author= |date= |work= |publisher= จังหวัดสุโขทัย |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref>
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==