ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินอัคนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Worrachat chemanititanapron (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนก่อกวน
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
ประเภทหลัก อีก 2 ประเภทได้แก่ [[หินตะกอน]] (sedimentary rock) และ[[หินแปร]] (metamorphic rock) หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของ[[หินหนืด]] (
'''หินอัคนี''' ({{lang-en|igneous; มาจากภาษาละติน ''ignis'' แปลว่า ไฟ}}) คือหนึ่งในหิน 3 ประเภทหลัก อีก 2 ประเภทได้แก่ [[หินตะกอน]] (sedimentary rock) และ[[หินแปร]] (metamorphic rock) หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของ[[หินหนืด]] (magma) หรือ[[หินหลอมเหลว]] (lava) หินอัคนีสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักได้แก่ [[หินอัคนีภูเขาไฟ]] (volcanic rock)และ[[หินอัคนีแทรกซอน]]
 
== ความสำคัญทางธรณีวิทยา ==
เส้น 13 ⟶ 14:
 
=== หินอัคนีพุ ===
หินอัคนีพุเกิดการเย็นตัวและแข็งตัวอย่างรวดเร็วบนผิวโลก ทำให้ได้เนื้อผลึกที่มีขนาดเล็ก หินหลอมละลายที่มีหรือไม่มีผลึกและฟองอากาศเรียกว่า[[หินหนืด]] (magma) หินหนืดโผล่ขึ้นมาที่ผิวโลกเนื่องจากมีความหนาแน่นน้อยกว่าหินต้นกำเนิด หินหนืดที่โผล่ขึ้นมาไม่ว่าจะอยู่ใต้น้ำหรือบนบก เรียกว่า [[หินหลอมเหลว]] (lava)
 
หินอัคนีพุเกิดการเย็นตัวและแข็งตัวอย่างรวดเร็วบนผิวโลก ทำให้ได้เนื้อผลึกที่มีขนาดเล็ก
 
หินหลอมละลายที่มีหรือไม่มีผลึกและฟองอากาศเรียกว่า[[หินหนืด]] (magma) หินหนืดโผล่ขึ้นมาที่ผิวโลกเนื่องจากมีความหนาแน่นน้อยกว่าหินต้นกำเนิด หินหนืดที่โผล่ขึ้นมาไม่ว่าจะอยู่ใต้น้ำหรือบนบก เรียกว่า [[หินหลอมเหลว]] (lava)
 
ปริมาณหินอัคนีพุที่ประทุจากการระเบิดของภูเขาไฟในแต่ละปีขึ้นอยู่กับการเกิดธรณีแปรสัณฐานของแผ่นเปลือกโลก
เส้น 43 ⟶ 41:
หินอัคนีที่มีผลึกขนาดใหญ่สามารถจำแนกได้ด้วยตาเปล่าเรียกว่า เนื้อทรรศน์ (phaneritic) และที่ไม่สามารถแยกได้ด้วยตาเปล่าเรียกว่า เนื้อจุล (aphanitic) โดยทั่วไปหินอัคนีแทรกซอนจะมีลักษณะเนื้อทรรศน์ และหินอัคนีพุจะมีลักษณะเนื้อจุล
[[ไฟล์:Mineralogy igneous rocks EN.svg|thumb|300px|Basic classification scheme for igneous rocks on their [[mineralogy]]. If the approximate volume fractions of minerals in the rock are known the rock name and silica content can be read off the diagram. This is not an exact method because the classification of igneous rocks also depends on other components than silica, yet in most cases it is a good first guess.]]
 
 
=== การจำแนกทางเคมี ===
 
ทางเคมี : ใช้ปริมาณทั้งหมดของแร่แอลคาไลและแร่ซิลิกาในการจำแนก
* ''หินที่มีความเป็นกรด'' หินอัคนีมีปริมาณแร่ซิลิกาสูงมากกว่า 63% เช่นหินแกรนิต และหินไรโอไลต์
เส้น 66 ⟶ 62:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
http://en.wikipedia.org/wiki/Igneous_rock
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==