ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 293:
* [[พ.ศ. 2552]] คณะแพทยศาสตร์ ประสบความสำเร็จในการจัดตั้งธนาคารเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนของมนุษย์ (Human Embryonic Stem Cells Bank) สำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย สายพันธุ์เซลล์ต้นกำเนิดสายพันธุ์ไทย ชื่อ Chula2.hES ได้รับการยอมรับเป็นครั้งแรกในระดับนานาชาติ และขึ้นทะเบียนกับสหภาพยุโรป<ref>(มหาชน), บริษัท มติชน จำกัด. "จุฬาฯตั้งธนาคารสเต็มเซลล์ตัวอ่อนมนุษย์แห่งแรกของประเทศไทย." Prachachat Online. June 14, 2012. Accessed May 17, 2017. http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339615657.</ref>
* [[พ.ศ. 2556]] ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยื่นจดสิทธิบัตรรองเท้าสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งผ่านการทำวิจัยในกลุ่มผู้สูงอายุจนได้รูปแบบรองเท้าที่เหมาะสม สามารถลดปัญหาสุขภาพเท้าในผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดี<ref>ส่วนส่งเสริมและพัฒนาวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. "ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์จริงเพื่อสุขภาพเท้าผู้สูงอายุ." Research.chula.ac.th. August 3, 2009. Accessed May 17, 2017. http://www.research.chula.ac.th/web/cu_online/2552/vol_27_2.htm.</ref>
* [[พ.ศ. 2557]] ถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียม การทำหัตถการสวนหัวใจเพื่อรักษาผู้ป่วยโครงสร้างหัวใจผิดปกติในการประชุมนานาชาติ Cardiac Structural Intervention (CSI) โดยนำเสนอการเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านสายสวนโดยไม่ต้องผ่าตัด (Transcatheter Aortic Valve Implantation - TAVI) ซึ่งประสบความสำเร็จและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ<ref>"รพ.จุฬาลงกรณ์ พัฒนานวัตกรรมลิ้นหัวใจใหม่ โดยไม่ต้องผ่าตัด". 2014. Hfocus.Org. https://www.hfocus.org/content/2014/07/7712.</ref>
* [[พ.ศ. 2558]] คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัล ASPIRE to Excellence Awards สาขา Student Engagement ในการประชุม Association for Medical Education in Europe (AMEE) ณ ประเทศ[[สหราชอาณาจักร]] โดย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งแรกและแห่งเดียวในเอเชียที่เคยได้รับรางวัลนี้<ref>[http://www.md.chula.ac.th/news_view.php?id=1014 แพทย์จุฬาฯ คว้ารางวัล Aspire to Excellence Award 1 เดียว ในเอเซีย,2558]</ref>
* [[พ.ศ. 2558]] ห้องปฏิบัติการของคณะแพทยศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]และ[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] [[สภากาชาดไทย]] เป็นห้องปฏิบัติการแห่งแรกใน[[ประเทศไทย]]ที่ตรวจพบ[[โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง]]<ref>NationTV22. "เปิดแลปจุฬาฯ ตรวจพบ โรคเมอร์ส แห่งแรก." <nowiki>Http://www.nationtv.tv</nowiki>. June 19, 2015. Accessed May 17, 2017. http://www.nationtv.tv/main/content/social/378460530/.</ref><ref name=":3">โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. (31 มกราคม 2560). ''สัมมนาวิชาการพิเศษเรื่อง "Global Virome Project ถอดรหัสไวรัสระดับโลก''. เรียกใช้เมื่อ 24 พฤษภาคม 2560 จาก เว็บไซต์ Chulalongkornhospital: http://www.chulalongkornhospital.go.th/index.php/2015-11-05-06-25-47/2015-11-26-04-15-30/383-global-virome-project-2</ref>