ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนที่แบบบราวน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alpinu (คุย | ส่วนร่วม)
→‎หนังสืออ่านเพิ่มเติม: French spelling (-> Études cinématographiques)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Wiener process 3d.png|thumb|ภาพเสมือนจริง 3 มิติของการเคลื่อนที่แบบบราวน์ ในกรอบเวลา 0 ≤ ''t'' ≤ 2]]
 
'''การเคลื่อนที่แบบบราวน์''' ({{lang-en|Brownian motion}}; ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ [[โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)|โรเบิร์ต บราวน์]]) หมายถึงการเคลื่อนที่ของอนุภาคในของไหล (ของเหลวหรือก๊าซ) ที่เชื่อคิดว่าเป็นไปโดยสุ่ม หรือแบบจำลองคณิตศาสตร์ที่ใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่แบบสุ่มดังกล่าว มักเรียกกันว่า [[อนุภาค|ทฤษฎีอนุภาค]]
 
มีการนำแบบจำลองคณิตศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบบราวน์ไปประยุกต์ใช้ในโลกจริงมากมาย ตัวอย่างที่นิยมอ้างถึงคือ ความผันผวนของ[[ตลาดหุ้น]] อย่างไรก็ดี การเคลื่อนไหวของราคาหุ้นอาจเพิ่มขึ้นเนื่องจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ซึ่งอาจไม่เกิดซ้ำกันอีก