ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จาตุมหาราชิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 118.175.138.111 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Four Guardian Kings in Burmese art.jpg|thumb|300px|ภาพวาดจตุโลกบาลหรือจตุมหาราชทั้ง 4 ศิลปะพม่า (จากซ้าย) [[ท้าวธตรฐ]] [[ท้าววิรุฬหก]] [[ท้าววิรูปักษ์]] และ[[ท้าวกุเวร]]]]
ตามคติ[[จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ]] '''จาตุมหาราชิกา''' ({{lang-pi|Cātummahārājika}}, ''จาตุมฺมหาราชิก''; {{lang-sa|Cāturmahārājikakāyika}}, ''จาตุรฺมหาราชิกกายิก'') เป็นชื่อ[[สวรรค์]]ชั้นที่ 1 ตามความเชื่อใน[[ไตรภูมิกถา]] แรกและเป็นสวรรค์ชั้นที่ต่ำล่างที่สุดใน[[ฉกามาพจร]]สวรรค์<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง 6= ชั้น[[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 | URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า =316}}</ref> (จัดอยู่สวรรค์ใน[[กามภูมิ]]ตามคติ[[ไตรภูมิ]]) เรียกสั้น ๆ ว่า '''ชั้นจาตุม''' ก็มี มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิง[[เขาพระสุเมรุ]]
 
จาตุมหาราชิกา โดยศัพท์แปลว่า "แห่งมหาราชทั้งสี่" เมื่อแปลแบบเอาความจึงหมายถึง "แดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่" หรือ "อาณาจักรของท้าวมหาราช 4 องค์" กล่าวคือ สวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ 4 องค์ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน 4 ทิศ ซึ่งเรียกว่า '''ท้าว[[โลกบาล]]''' '''ท้าวจตุโลกบาล''' หรือ '''ท้าวจาตุมหาราช''' หรือ '''สี่ปวงผี'''<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''"พลังลาว" ชาวอีสาน มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549, หน้า 104</ref> ปกครองอยู่องค์ละทิศ
'''จาตุมหาราชิกา''' ({{lang-pi|Cātummahārājika}}, ''จาตุมฺมหาราชิก''; {{lang-sa|Cāturmahārājikakāyika}}, ''จาตุรฺมหาราชิกกายิก'') เป็นชื่อ[[สวรรค์]]ชั้นที่ 1 ตามความเชื่อใน[[ไตรภูมิกถา]] และเป็นสวรรค์ชั้นที่ต่ำที่สุดใน[[ฉกามาพจร]]สวรรค์ 6 ชั้น (จัดอยู่ใน[[กามภูมิ]]ตามคติ[[ไตรภูมิ]]) เรียกสั้น ๆ ว่า '''ชั้นจาตุม''' ก็มี มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิง[[เขาพระสุเมรุ]]
 
จาตุมหาราชิกา โดยศัพท์แปลว่า "แห่งมหาราชทั้งสี่" เมื่อแปลแบบเอาความจึงหมายถึง "แดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่" หรือ "อาณาจักรของท้าวมหาราช 4 องค์" กล่าวคือ สวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ 4 องค์ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน 4 ทิศ ซึ่งเรียกว่า '''ท้าวโลกบาล''' '''ท้าวจตุโลกบาล''' หรือ '''ท้าวจาตุมหาราช''' หรือ '''สี่ปวงผี'''<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''"พลังลาว" ชาวอีสาน มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549, หน้า 104</ref> ปกครองอยู่องค์ละทิศ
 
เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ 500 ปีทิพย์ (30 วันเป็น 1 เดือน 12 เดือนเป็น 1 ปี) โดย 1 วันและ 1 คืนของสวรรค์ชั้นนี้ เท่ากับ 50 ปีของโลกมนุษย์<ref>อุโปสถสูตร หน้า 195 เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย</ref> คำนวณเป็นปีโลกมนุษย์ได้ 9,000,000 ปีโลกมนุษย์ (บางแห่งกล่าวว่าเท่ากับ 90,000 ปีโลกมนุษย์)
เส้น 165 ⟶ 164:
==อ้างอิง==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Four Heavenly Kings|จาตุมหาราชิกา}}
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* Chaudhuri, Saroj Kumar. ''Hindu Gods and Goddesses in Japan''. New Delhi: Vedams eBooks (P) Ltd., 2003. ISBN 8179360091.
เส้น 171 ⟶ 173:
* Potter, Karl H., ed. ''The Encyclopedia of Indian Philosophies'', volume 9. Delhi: Motilal Banarsidass, 1970–. ISBN 8120819683, ISBN 8120803078 (set).
* Thakur, Upendra. ''India and Japan: A Study in Interaction During 5th cent.–14th cent. A.D.''. New Delhi: Abhinav Publications, 1992. ISBN 8170172896. Pp.&nbsp;27–41.
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เทวดา}}
เส้น 176 ⟶ 179:
{{เทพในคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น}}
 
[[หมวดหมู่:เทวดาในศาสนาพุทธฉกามาพจร]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]