ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีแยร์ รอซีเย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
ปลายเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1860 รอซีเยอยู่ที่เซี่ยงไฮ้ และดูเหมือนว่าเขาจะเดินทางมายังเมืองนี้เพราะพยายามที่จะขออนุญาตติดตามคณะทหารกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศส ที่ได้เดินทางมาถึงภาคเหนือของประเทศจีนแล้ว และเพื่อทำตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ลุล่วงในการบันทึกภาพสงครามฝิ่นครั้งที่สองนี้<ref>กองทัพทหารอังกฤษและฝรั่งเศส มารวมตัวกันที่อ่าวต้าเหลียงและ Chefoo ตามลำดับในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1860 (Harris, 17) และรอซีเยได้อยู่ที่เซี่ยงไฮ้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1860 เป็นไปได้ว่าเขาอยู่ที่เซี่ยงไฮ้เพื่อหาอุปกรณ์ถ่ายภาพ (Bennett)</ref> ถ้าเขาตั้งใจเช่นนั้น เขาก็ไม่สามารถลุล่วงภารกิจได้ เพราะกองทัพทั้งสองได้จ้างช่างภาพเพื่อบันทึกภารกิจเรียบร้อยแล้ว กองทัพอังกฤษจ้างช่างภาพชื่อ เฟลิซ บีโต และจอห์น พาพิลลอน ส่วนกองทัพฝรั่งเศสจ้างอ็องตวน โฟเชอรี, พันโท ดูว์ แป็ง และอาจรวมถึงหลุยส์ เลอกร็อง<ref>Bennett; Thiriez. พาพิลลอนได้ถ่ายภาพระหว่างอยู่ที่กวางตุ้งกับป้อมทะคุ แต่ป่วยและอพยพออกไปก่อนเสร็จสิ้นภารกิจ ภาพจากคณะเดินทางของโฟเชอรีก็ไม่สามารถระบุได้อย่างแน่นอน แต่บางทีอาจรวมกับภาพ 3 มิติ 24 ภาพของกองทัพฝรั่งเศสในกวางตุ้น เซี้ยงไฮ้ [[เทียนจิน]]และ[[ปักกิ่ง]] และไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นของดูแป็งหรือเลอกร็อง ที่ถ่ายระหว่างการเดินทางครั้งนี้. Thiriez, 6-7.</ref> แม้รอซีเยจะพลาดภารกิจที่เขาได้รับการว่าจ้างมา แต่เขาก็ยังอยู่ในเอเชียตะวันออกเพื่อบันทึกภาพต่อไป
 
เดือนตุลาคม ค.ศ. 1860 รอซีเยกลับไปยังนะงะซะกิ เขาถ่ายภาพท่าจอดเรือของเมือง นี้ในนามของกงสุลอังกฤษ จอร์จ เอส. มอร์ริสัน กงสุลบริเตนซึ่งจ่ายค่าจ้างให้เขาเป็นเงิน 70 เหรียญสหรัฐ<ref>Dobson, 20; Clark, Fraser, and Osman, 137-138).</ref> ถึงมีแม้ภาพถ่ายของรอซีเยจะมีได้รับการโฆษณาโดย ''เนเกรตตีและแซมบรา'' อย่างน้อย 2 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1860 แต่บริษัทก็ไม่ได้ตีพิมพ์ภาพเหล่านั้นจนกระทั่งเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน ค.ศ. 1861<ref>นิตยสาร ''[[The Times]]'' ฉบับ 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1860 มีโฆษณาภาพ 3 มิติ เป็นภาพสตรีญี่ปุ่นสวมเสื้อผ้าเต็มชุด ถ่ายโดยรอซีเย และโฆษณาใน ''The Times'' ฉบับ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1860 อ้างว่าจะมีภาพถ่ายจากญี่ปุ่น ที่หายาก เป็นภาพทิวทัศน์ และมีภาพประกอบชนพื้นเมืองของญี่ปุ่น เบนเนตต์ยังคาดว่าที่ ''เนเกรตตีและแซมบรา'' เผยแพร่ภาพเหล่านี้ล่าช้าเพราะปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพ หรือไม่ก็อาจเสียหายระหว่างการขนส่ง หรือความยากลำบากที่รอซีเยไม่สามารถให้สารเคมีในการถ่ายภาพได้ในเอเชีย (Bennett).</ref> ภาพภาพถ่ายทิวทัศน์ญี่ปุ่น 5 ภาพของประเทศญี่ปุ่นที่ถ่ายโดยรอซีเย ได้มีรับการเผยแพร่ก่อน ในหนังสือของจอร์จ สมิท ที่ชื่อ ''Ten Weeks in Japan'' ของจอร์จ สมิท ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1861 และในเดือนกรกฎาคม ปีนั้นเดียวกัน ภาพถ่ายในญี่ปุ่นอีก 8 ภาพถ่ายภาพของรอซีเยเขาก็ปรากฏในรูปแบบของ[[ภาพพิมพ์หิน]] ในหนังสือของเฮนรี อาร์เทอร์ ทิลลีย์ ในหนังสือที่ชื่อ ''Japan, the Amoor, and the Pacific'' ของเฮนรี อาร์เทอร์ ทิลลีย์<ref name="Bennett PiJ, 49.">Bennett PiJ, 49.</ref> ภาพถ่ายใน นิตยสาร ''Illustrated London News'' ฉบับหนึ่งในปี ค.ศ. 1861 มีได้ตีพิมพ์[[ภาพพิมพ์ลายแกะภายใต้]]หลายภาพร่วมกันในชื่อ ''Domestic Life in China'' เป็นโดยใช้ภาพ 3 มิติ ที่ถ่ายโดยรอซีเย<ref>Bennett OJP, 119.</ref> อีก 1 ภาพหนึ่งในบรรดาภาพถ่ายที่ ''เนเกรตตีและแซมบรา'' ได้โฆษณาไว้ในปี ค.ศ. 1860 มีกลายเป็นภาพถ่ายทิวทัศน์ญี่ปุ่นเชิงพาณิชย์ภาพแรกที่ได้รับการตีพิมพ์เพื่อการค้าครั้งแรกในญี่ปุ่น และอาจถือได้ว่าเป็นภาพถ่ายญี่ปุ่นที่ลงสีเขียนด้วยมือของญี่ปุ่นภาพแรกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบกัน<ref>ภาพชื่อว่า "Japanese ladies in full dress" (Bennett PiJ, 47; 49, fig. 45).</ref>
 
จากเอกสารจำนวนมากในช่วงนั้น ทำให้สามารถยืนยันได้ว่าภาพถ่ายประเทศภาพทิวทัศน์ในจีนและญี่ปุ่นของบริษัท ''เนเกรตตีและแซมบรา'' นั้นถ่ายโดยรอซีเย แต่หลายปีที่เราคิดว่าภาพเหล่านี้ถ่ายโดยผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น[[วอลเทอร์ บี. วุดเบอรี]] ที่ได้รับการว่าจ้างจาก ''เนเกรตตีและแซมบรา'' เช่นกัน แต่เขาทำงานใน[[ปัตตาเวีย]] (ปัจจุบันคือ[[จาการ์ตา]]) หรือ[[อาเบล กาวเวอร์]] ช่างภาพสมัครเล่นในญี่ปุ่น สิ่งที่น่าสนใจคือ คลังสะสมภาพถ่ายของ[[มหาวิทยาลัยไลเดิน]]มีภาพถ่ายที่เข้าใจว่าเป็นภาพของกาวเวอร์ แต่มีการเซ็นว่า "เป. รอซีเย" และในปี ค.ศ. 1859 ทั้งรอซีเยและกาวเวอร์ได้เดินทางไปด้วยกันในเรือ ''[[เอชเอ็มเอส แซมป์สัน]]'' จากนะงะซะกิไปยังเอะโดะ<ref>Bennett PiJ, 45; 117, fig. 141.</ref>
 
== การสอนถ่ายภาพ ==