ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแก้วนวรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ภาพimage = ไฟล์:King Kaew Naowarat.jpg
| สีพิเศษ = #ffcc00
| birth_style= ประสูติ
| สีอักษร = #8f5f12
| ประสูติbirth_date = [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]]
| ภาพ = ไฟล์:King Kaew Naowarat.jpg
| death_style = วันพิราลัย
| พระนาม = แก้ว ณ เชียงใหม่
| วันพิราลัยdeath_date = {{วันตายและอายุ|2482|6|3|2405|9|29|พรรษา}}
| ประสูติ = [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]]
| พระอิสริยยศsuccession = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้านครเชียงใหม่]]
| วันพิราลัย= {{วันตายและอายุ|2482|6|3|2405|9|29|พรรษา}}
| พระบิดาfather1 = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
| พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้านครเชียงใหม่]]
| ฐานันดรศักดิ์ashes1 = [[กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ|เจ้าหลวง]]
| พระมารดาmother1 = แม่เจ้าเขียว
| พระบิดา = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
| พระมเหสีqueen = [[แม่เจ้าจามรี]]
| พระอัฐิ = [[กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
| หม่อมspouses = เจ้าหญิงไฟ <br> [[หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่|หม่อมบัวเขียว]] <br> หม่อมแส
| พระมารดา= แม่เจ้าเขียว
| พระโอรส/ธิดาchildren = 4 พระโอรส <br> 2 พระธิดา
| พระมเหสี = [[แม่เจ้าจามรี]]
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| หม่อม = เจ้าหญิงไฟ <br> [[หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่|หม่อมบัวเขียว]] <br> หม่อมแส
| reign = 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ({{อายุปีและวัน|2453|1|23|2482|6|3|ปี}})
| พระโอรส/ธิดา = 4 พระโอรส <br> 2 พระธิดา
| enthronement = 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| รัชกาลก่อนหน้าpredesessor = [[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]
| ทรงราชย์ = [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2453]] - [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]]
| พิธีบรมราชาภิเษก = [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2453]]
| ระยะเวลาครองราชย์ = {{อายุปีและวัน|2453|1|23|2482|6|3|ปี}}
| รัชกาลก่อนหน้า = [[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Kaeonawarat.png|90px]]}}) ([[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]] - [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]]) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> และองค์สุดท้ายแห่ง[[นครเชียงใหม่]]
 
== พระประวัติ ==
เจ้าแก้วนวรัฐวรัฐ มีนามเดิมว่า'''เจ้าแก้ว''' ประสูติที่คุ้มหลวงนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]] เป็นราชโอรสใน[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] เจ้าผู้ครองเชียงใหม่องค์ที่ 7 ประสูติแต่แม่เจ้าหม่อมเขียว และเป็นเจ้านัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)]] พระยาราชวงศ์นครเชียงใหม่ เจ้าแก้วนวรัฐมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ '''เจ้าหญิงจอมจันทร์พี่น้อง 10 เชียงใหม่'''องค์ เมื่อโตขึ้นได้เลื่อนอิสริยยศตามลำดับ จนกระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2447 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''เจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/050/932_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 21, ตอน 50, 12 มีนาคม ร.ศ. 123, หน้า 932</ref>ดังนี้
# เจ้าน้อยโตน
# เจ้าราชวงศ์ (น้อยขัตติยะ)
# เจ้านางคำต่าย
# เจ้าแก้วผาบเมือง
*# [[พ.ศ. 2436]] เป็นเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]
# เจ้าแก้วนวรัฐ
# เจ้าจอมจันทร์
# เจ้านางคำห้าง
# เจ้านางจันทรโสภา
# [[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]]
โดยเจ้าจอมจันทร์เป็นเจ้าน้องร่วมเจ้ามารดาเพียงองค์เดียว<ref>''สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก'', หน้า 381</ref>
 
เจ้าแก้วได้เลื่อนอิสริยยศตามลำดับ พ.ศ. 2432 เป็น''เจ้าราชภาคิไนย'' พ.ศ. 2436 เป็น''เจ้าสุริยวงษ์''<ref>''สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก'', หน้า 382</ref> ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 โปรดให้ส่งสัญญาบัตรไปพระราชทานให้เป็น''เจ้าราชวงษ์เมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2440/047/795_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 14, ตอน 47, 20 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 116, หน้า 932</ref> จนกระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2447 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''เจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/050/932_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 21, ตอน 50, 12 มีนาคม ร.ศ. 123, หน้า 932</ref>
ครั้น[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2452 แล้ว [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งทรงทราบความที่[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]] ถวายบังคมลาไปประทับที่นครเชียงใหม่ก่อนแล้ว จึงมีพระราชดำรัสกับเจ้าดารารัศมีให้เลือกผู้แทนเจ้าอินทวโรรส ที่ว่า
 
ครั้น[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2452 แล้ว [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งทรงทราบความที่[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]] ถวายบังคมลาไปประทับที่นครเชียงใหม่ก่อนแล้ว จึงมีพระราชดำรัสกับเจ้าดารารัศมีให้เลือกผู้แทนเจ้าอินทวโรรส ที่ว่า
 
{{คำพูด|ในการเลือกเจ้านครเชียงใหม่แทนเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ตามกฎต้องให้ทายาทผู้สืบตระกูลรับตำแหน่งนี้ ซึ่งควรจะต้องได้แก่[[เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)|เจ้าราชบุตร (เลาแก้ว)]] ทายาทแต่ผู้เดียว แต่ในตำแหน่งนี้จะต้องเป็นพระอภิบาลเจ้าดารารัศมี พระราชยายาในรัชกาลที่ 5 ด้วย ในขณะนี้เจ้าราชบุตรยังอายุน้อยอยู่ ฉะนั้นพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจึงขอเลือกเจ้าอุปราชแก้ว รับหน้าที่นี้ก่อน...|วชิราวุธ ป.ร.}}
เส้น 32 ⟶ 41:
ดังนั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2452<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/2415.PDF แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่], เล่ม 26, 23 มกราคม ร.ศ. 128, หน้า 2415</ref> ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นเจ้านครเชียงใหม่ มีราชทินนามว่า ''เจ้าแก้วนวรัฐ ประพัทธ์อินทนันทพงษ์ ดำรงนพิสีนครเขตร ทศลักษณเกษตรอุดม บรมราชสวามิภักดิ์ บริรักษ์ปัจฉิมานุทิศ สุจริตธรรมธาดา มหาโยนางคราชวงษาธิบดี ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1808.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์], เล่ม 28, ตอน 0 ง, 12 พฤศจิกายน ร.ศ. 130, หน้า 1811</ref>
 
*ถึง [[พ.ศ. 2462]] เป็นนายพลตรี ราชองครักษ์พิเศษ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2462/D/2295.PDF แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งราชองครักษ์พิเศษ]</ref> และนายทหารพิเศษประจำกองทัพบกไทย
=== ฐานันดรศักดิ์ ===
* [[พ.ศ. 2432]] เป็นเจ้าราชภาคิไนย
* [[พ.ศ. 2436]] เป็นเจ้าสุริยวงษ์
* [[พ.ศ. 2440]] เป็นเจ้าราชวงศ์
* [[พ.ศ. 2447]] เป็นเจ้าอุปราช
* [[พ.ศ. 2454]] เป็นเจ้าหลวง
* [[พ.ศ. 2462]] เป็นนายพลตรี ราชองครักษ์พิเศษ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2462/D/2295.PDF แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งราชองครักษ์พิเศษ]</ref> และนายทหารพิเศษประจำกองทัพบกไทย
 
=== บั้นปลายชีวิต ===
เส้น 79 ⟶ 82:
|-
|valign="top"|
|valign="top" | 2. '''[[เจ้าไฝไผ่ ณ เชียงใหม่]]'''<br>(เจ้าหญิงไฝไผ่)
|valign="top" | ไม่ปรากฏ
|valign="top" | ไม่มี
เส้น 215 ⟶ 218:
 
=== การได้รับพระราชทานนามสกุล ===
เจ้าแก้วนวรัฐ ได้รับพระราชทานนามสกุล '''ณ เชียงใหม่''' ({{lang-roman|na Chiengmai}}) ซึ่งเป็นนามสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 1,161 จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2457]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/D/10.PDF ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ ๑๔ (ลำดับที่ ๑๑๕๖ ถึงลำดับที่ ๑๑๘๒)]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 31 วันที่ 5 เมษายน 2457 หน้า 10</ref> โดยพระราชทานให้แก่ผู้สืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษที่มีนิวาสถานตั้งอยู่ในที่แห่งนั้นเป็นเวลานานมาก มีผู้คนรู้จัก และนับถือโดยมาก โดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระบรมราชโองการห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระบรมราชานุญาตใช้คำว่า "ณ" นำหน้าสกุลเป็นอันขาด<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/395.PDF ประกาศ ห้ามมิให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระราชทานนามสกุลใช้ "ณ" นำหน้านามสกุล], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๙๕ </ref> ต่อมาภายหลังตระกูล ณ เชียงใหม่ ยังคงเป็นตระกูลที่มีบทบาทและได้รับการยกย่องจากระบบราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีบทบาทสำคัญในฐานะส่วนหนึ่งของพิธีการต่างๆ เพื่อรับรองนโบายการปกครองที่ดำเนินมานับแต่ [[พ.ศ. 2442]]<ref>[[ธเนศวร์ เจริญเมือง]]. '''คนเมือง'''. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์. 2544. หน้า 83</ref> อาทิ เป็นหนึ่งในสิบตระกูลที่ได้เข้าเฝ้าใน[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]<ref>http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/king/rajapisek/index3.htm</ref> การเตรียมการรับเสด็จราชอาคันตุกะทุกๆ คราว<ref>หนังสือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ณ เมรุวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ หน้า (13)</ref> และการถวายความจงรักภักดีต่อราชวงศ์จักรี
 
== สถานที่อันเนื่องมาจากพระนาม ==
เส้น 229 ⟶ 232:
{{ท.จ.|2452}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/1928.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]</ref>
{{ป.ม.|2453}}
{{ท.จ.ว.|2454}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1783.PDF วันที่ ๙ พฤศจิกายน รัตนโกสินทร ศก ๑๓๐], เล่ม ๒๘, ๑๒ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๓๐, หน้า ๑๗๙๓</ref>
* พ.ศ. 2454 - [[ไฟล์:Chakrabarti Mala Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญจักรพรรดิมาลา]]
* พ.ศ. 2457 - [[ไฟล์:King Rama VI Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6]] ชั้นที่ 2 (ว.ป.ร.2)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/D/1850.PDF รายพระนามและนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ในงานพระราชพิธีฉัตรมงคล], เล่ม ๓๑, ตอน ๐ ง, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๗, หน้า ๑๘๕๐ </ref>
เส้น 278 ⟶ 282:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
; บรรณานุกรม
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* ศักดิ์ รัตนชัย. '''พงศาวดารสุวรรณหอคำนครลำปาง (ตำนานเจ้าเจ็ดพระองค์กับหอคำมงคล ฉบับสอบทานกับเอกสารสืบค้น สรสว.ลำปาง) '''.
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* คณะทายาทสายสกุล เจ้าหลวงเมืองพะเยา, สถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก. '''ครบรอบ 100 ปี แม่เจ้าทรายมูล (มหาวงศ์) ไชยเมือง และประวัติสายสกุลเจ้าหลวงเมืองพะเยา พุทธศักราช 2387 - 2456'''. พะเยา :บ.ฮาซัน พริ้นติ้ง จก., 2546
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, 2539.
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง =เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่.| '''ชื่อหนังสือ =เจ้าหลวงเชียงใหม่'''| URL = https://www.scribd.com/document/357393575/เจ-าหลวงเชียงใหม-pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ: | พิมพ์ที่ =อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน),|ISBN = 974-8364-00-3| ปี = 2539.}}
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, 2539.
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* ศักดิ์ รัตนชัย. '''พงศาวดารสุวรรณหอคำนครลำปาง (ตำนานเจ้าเจ็ดพระองค์กับหอคำมงคล ฉบับสอบทานกับเอกสารสืบค้น สรสว.ลำปาง) '''.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ราชบัณฑิตยสถาน| ชื่อหนังสือ = สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน| ปี = 2549| ISBN = 974-9588-63-0| จำนวนหน้า = 434| หน้า = 381-2}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[สะพานนวรัฐ]]
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 298 ⟶ 302:
| รูปภาพ =Seal_of_Prince_Chiang_Mai.jpg
| ก่อนหน้า = [[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| ปี = [[2311 มกราคม]]พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2453]]2454 - [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]]
| ถัดไป = ยกเลิกตำแหน่ง <br> <small> ''ผู้สืบตระกูล: [[เจ้าราชบุตร วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่]]''</small>
}}