ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารวีเอ็กซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
IAMAI1005 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
IAMAI1005 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
| Section1 = {{Chembox Identifiers
| CASNo = 50782-69-9
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}<ref name="Substance Name: VX">{{cite web|last1=Chambers|first1=Michael|title=Substance Name: VX|url=http://chem.sis.nlm.nih.gov/chemidplus/rn/50782-69-9|website=ChemIDplus|publisher=U.S. National Library of Medicine, National Institutes of Health|accessdate=24 February 2017|language=enthai}}</ref>
| CASNo1 = 51848-47-6
| CASNo1_Ref = {{cascite|correct|CAS}}<ref name="Substance Name: VX"/>
บรรทัด 64:
 
== ประวัติการใช้สารวีเอ็กซ์ ==
สารวีเอ็กซ์ถูกค้นพบขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษเมื่อปีค.ศ. 1950 โดยนักเคมีที่มีชื่อว่ารานาจิ กอช หลังจากนั้นในปีค.ศ.1955 สารนี้ได้ถูกนำไปศึกษาเพิ่มเติมเพื่อนำไปใช้ในการทำอาวุธสังหาร และในปีค.ศ. 1961สหรัฐอเมริการได้ผลิตสารชนิดนี้ออกมาเป็นจำนวนมาก แล้วนำไปเก็บไว้ที่คลังอาวุธเพื่อใช้ในยามสงคราม นอกจากนี้ยังมีประเทศอิรักที่ผลิตสารชนิดนี้ออกมาเป็นจำนวนมากกว่า 5,000 ตัน<ref>{{citeweb|last1=MacCurry|first1= Justin|title= What is the VX nerve agent that killed North Korean Kim Jong-nam?| url=https://www.theguardian.com/world/2017/feb/24/what-is-vx-nerve-agent-killed-kim-jong-nam-north-korea|publisher=the guardian|accessdate=Oct 26,2017|language=thai}}</ref> เคยถูกนำไปใช้โจมตีชาวเคิร์ดและสงครามอิรัก-อิหร่านในปี1988อีกด้วย
 
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ ปีค.ศ. 2017 คิมจองนัม ผู้ซึ่งเป็นพี่ชายของคิมจองอึนผู้นำประเทศเกาหลีเหนือ เสียชีวิตจากการลอบสังหารด้วยสารพิษชนิดนี้ในประเทศมาเลเซีย จากการตรวจสอบ พบว่าพบสารวีเอ็กซ์บนใบหน้าของคิมจองนัม ผู้ต้องสงสัยที่คาดว่าเป็นคนลอบสังหารคิมจองนัมคือผู้หญิงชาวเวียดนาม ซึ่งผู้หญิงคนนี้ก็เกิดอาการที่ได้รับสารวีเอ็กซ์เช่นกัน แม้จะใส่ถุงมือป้องกันแต่สารวีเอ็กซ์ก็ยังสามารถแทรกซึมเข้าสู่ผิวหนังได้<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/VX_(nerve_agent)#History</ref>
 
== สมบัติทางกายภาพของสารวีเอกซ์ ==
สารวีเอกซ์มีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากับ 267.368  เป็นของเหลวที่ไม่มีสี ความหนาแน่นใกล้เคียงกับน้ำคือ 1.0083 g cm<sup>−3</sup> มีลักษณะคล้ายน้ำมันเครื่องเพราะมีความเหนียวสูงและระเหยยาก ถูกจัดว่าเป็นสารพิษทำลายประสาทที่มีการระเหยยากที่สุด มีลักษณะเป็นไฮโดรโฟบิกคือเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ นอกจากนี้สารดังกล่าวสามารถคงอยู่ได้หลายวันหากอยู่ในอุณหภูมิปกติและอยู่ได้หลายเดือนหากอยู่ในอุณภูมิที่ต่ำ สารวีเอกซ์อยู่ได้ทั้งในรูปของเหลวและก๊าซหากอยู่ในที่ที่มีอุณหภูมิสูง<ref>{{citeweb|url=http://www.newworldencyclopedia.org/entry/VX_(nerve_agent)#History}}</ref>
 
== สารวีเอ็กซ์ในร่างกาย ==