ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคกระดูกพรุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| duration =
| causes =
| risks = [[การติดสุรา]], [[ภาวะเบื่ออาหาร]], [[ต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน]], [[โรคกระเพาะอาหารและลำไส้]], [[ศัลยกรรมผ่าตัดเอารังไข่ออก]], [[โรคไต]], การสูบบุหรี่<ref name=NIH2014/>
| diagnosis = การเอ็กซเรย์<ref name="WHOcriteria">{{cite web|author=WHO Scientific Group on the Prevention and Management of Osteoporosis (2000 : Geneva, Switzerland)|url=http://whqlibdoc.who.int/trs/WHO_TRS_921.pdf|title=Prevention and management of osteoporosis : report of a WHO scientific group|year=2003|pages=7, 31|ISBN=9241209216|format=PDF|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20070716094519/http://whqlibdoc.who.int/trs/WHO_TRS_921.pdf|archivedate=2007-07-16|df=}}</ref>
| differential =
บรรทัด 21:
}}
 
'''โรคกระดูกพรุน''' (Osteoporosis) คือโรคที่ทำให้ลดความแข็งแรงของ[[กระดูก]]ลดลงและเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิด[[กระดูกหัก]]<ref name=NIH2014/> โรคนี้เป็นสาเหตุหลักของการเกิดกระดูกหักในผู้สูงอายุ<ref name=NIH2014>{{cite web|title=Handout on Health: Osteoporosis|url=http://www.niams.nih.gov/health_info/Osteoporosis/default.asp|accessdate=16 May 2015|date=August 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150518091922/http://www.niams.nih.gov/health_info/Osteoporosis/default.asp|archivedate=18 May 2015|df=}}</ref> ซึ่งมักเกิดกับกระดูกไขสันหลัง, กระดูกแขนท่อนปลายและกระดูกสะโพก<ref name=Gol2015>{{cite journal|last1=Golob|first1=AL|last2=Laya|first2=MB|title=Osteoporosis: Screening, Prevention, and Management.|journal=The Medical clinics of North America|date=May 2015|volume=99|issue=3|pages=587–606|pmid=25841602|doi=10.1016/j.mcna.2015.01.010}}</ref> โรคกระดูกพรุนมักไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยต้องอาศัยการตรวจกระดูกเท่านั้นจึงจะทราบ ผู้ที่มีภาวะกระดูกหักจะมีอาการปวดเรื้อรังและสมรรถภาพการเคลื่อนไหวลดลง
 
โรคกระดูกพรุนมีสาเหตุมาจากการมีมวลกระดูกที่ต่ำกว่าคนทั่วไป หรือการมีอัตราการเสื่อมของกระดูกที่เร็วกว่าคนทั่วไป อัตราการเสื่อมของกระดูกจะเพิ่มขึ้นในวัยหมดประจำเดือนของสตรี (ราว 40-50 ปี) จากการที่มีระดับฮอร์โมน[[เอสโตรเจน]]ลดลง โรคกระดูกพรุนอาจเกิดขึ้นจากเหตุหรือพฤติกรรมอื่นๆ อาทิ การติดสุรา, การติดสุรา, ภาวะเบื่ออาหาร, ต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน, โรคกระเพาะอาหารและลำไส้, การรับศัลยกรรมผ่าตัดเอารังไข่ออก, โรคไต รวมถึงการสูบบุหรี่
 
==อ้างอิง==