ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 271:
* [[พ.ศ. 2528]] First Cochlear transplantation
* [[พ.ศ. 2529]] ริเริ่มทำ Fine needle aspiration ครั้งแรก
* [[พ.ศ. 2529]] ประสบความสำเร็จในการผ่าตัดรักษาโรคงวงช้างด้วยวิธี "จุฬาฯ เทคนิค" โดยไม่ต้องเปิดกระโหลกศีรษะเป็นครั้งแรกของประเทศไทย เป็นความสำเร็จที่มีชื่อเสียงอย่างมากในระดับนานาชาติ
* [[พ.ศ. 2530]] คณะแพทยศาสตร์ประสบความสำเร็จในการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจเป็นครั้งแรก ในประเทศไทย
* [[พ.ศ. 2530]] คณะแพทยศาสตร์ประสบความสำเร็จในการรักษาภาวะการมีบุตรยากด้วยวิธีเด็กหลอดแก้ว (Thailand First test tube baby) รายแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย
เส้น 296 ⟶ 297:
* [[พ.ศ. 2558]] ห้องปฏิบัติการของคณะแพทยศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]และ[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] [[สภากาชาดไทย]] เป็นห้องปฏิบัติการแห่งแรกใน[[ประเทศไทย]]ที่สามารถตรวจเชื้อ[[โรคไวรัสอีโบลา|ไวรัสอีโบลา]]ได้<ref name=":3" />
* [[พ.ศ. 2559]] ปลูกถ่ายไตข้ามหมู่เลือด ด้วยเทคนิคล้างน้ำเหลืองปลูกถ่ายไตโดยไม่ทำลายภูมิคุ้มกันทั้งหมด เป็นรายแรกในอาเซียน<ref>โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. เทคนิคใหม่....ปลูกถ่ายไตข้ามหมู่เลือดสำเร็จ รายแรกในอาเซียน. 5 เมษายน 2559. http://www.chulalongkornhospital.go.th/index.php/2015-11-05-06-25-47/2015-11-26-04-15-30/145-2016-04-01-07-56-25 (28 เมษายน 2559 ที่เข้าถึง).</ref>
* [[พ.ศ. 2560]] คณะแพทยศาสตร์ สามารถรักษาโรค[[โรคหืด|หอบหืด]]เรื้อรังขั้นรุนแรงโดยการส่องกล้องจี้หลอดลมด้วยความร้อน (Bronchial thermoplasty) ได้สำเร็จเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวใน[[ประเทศไทย]]<ref>สภากาชาดไทย. "รพ.จุฬาลงกรณ์ โชว์!!นวัตกรรมส่องกล้อง รักษาผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง แห่งเดียวในไทย | Welcome to The Thai Red Cross Society." รพ.จุฬาลงกรณ์ โชว์!!นวัตกรรมส่องกล้อง รักษาผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง แห่งเดียวในไทย | Welcome to The Thai Red Cross Society. Accessed March 05, 2017. http://www.redcross.or.th/news/information/58869</ref>
 
== WHO Collaborating Centre ==