ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เชอร์ชิลล์," → "เชอร์ชิล" +แทนที่ "มาร์ลเบรอ" → "มาร์ลบะระ" +แทนที่ "เชอร์ชิลล์" → "เชอร์ชิล...
บรรทัด 41:
== เบื้องต้น ==
=== ทรงพระเยาว์ ===
[[ไฟล์:Sarah Churchill, Duchess of Marlborough.jpg|thumb|180px|ซาราห์ เชอร์ชิลล์,เชอร์ชิล ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ พระสหายสนิทของพระราชินีนาถแอนน์]]
[[ไฟล์:James II & VII.jpg|right|thumb|180px|สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 พระราชบิดาของพระราชินีนาถแอนน์]]
[[ไฟล์:John Churchill Marlborough porträtterad av Adriaen van der Werff (1659-1722).jpg|thumb|180px|[[จอห์น เชอร์ชิลล์,เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระ]] นายทัพและนักการเมืองคนสำคัญในรัชสมัยของพระราชินีนาถแอนน์]]
พระนางเจ้าแอนน์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 ที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]] ใน[[กรุงลอนดอน]] เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]] และ[[เลดี้แอนน์ ไฮด์]]พระมเหสีองค์แรก นอกจากนั้นพระนางเจ้าแอนน์ยังเป็นพระนัดดาของ[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2]] และเป็นพระขนิษฐาของ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]] อีกด้วย พระราชินีนาถแอนน์และพระราชินีนาถแมรีเป็นพระราชธิดาเพียงสองพระองค์ของพระเจ้าเจมส์เท่านั้นที่ทรงมีชีวิตรอดมาจนโต <ref name="Lodge78"/> เจ้าหญิงแอนน์ทรงถูกส่งไป[[ฝรั่งเศส]]เมื่อยังทรงพระเยาว์เพื่อรักษาโรคตาอักเสบ ขณะประทับอยู่ที่ฝรั่งเศสนั้นทรงประทับอยู่กับพระอัยกี [[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย]]พระชายาใน[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] เมื่อพระราชินีเฮนเรียตตาสิ้นพระชนม์จึงทรงย้ายไปประทับอยู่กับพระปิตุจฉา[[เจ้าหญิงเฮนเรียตตา แอนน์ สจวต]][http://en.wikipedia.org/wiki/Henrietta_Anne_Stuart] จนเสด็จกลับจากฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1670 [[ไฟล์:Anniex.jpg|thumb|180px|พระบรมราชินีนาถแอนน์ใน ค.ศ 1687]]
 
ราวปี ค.ศ. 1673 เจ้าหญิงแอนน์ทรงทำความรู้จักกับ[[ซาราห์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ|ซาราห์ เจ็นนิงส]][http://en.wikipedia.org/wiki/Sarah_Churchill]ผู้กลายมาเป็นพระสหายคนสนิทและเป็นที่ปรึกษาผู้มีอิทธิพลมากที่สุดเกือบตลอดพระชนม์ชีพคนหนึ่งของพระองค์<ref name="SJ">{{cite encyclopedia | encyclopedia = Encyclopædia Britannica| title = Sarah Jennings, Duchess of Marlborough| accessdate = 2007-01-07| publisher = Britannica Concise Encyclopedia | url=http://concise.britannica.com/ebc/article-9051033/Sarah-Jennings-Churchill}}</ref> ต่อมาซาราห์ แต่งงานกับ[[จอห์น เชอร์ชิลล์,เชอร์ชิล ดยุ้คแห่งมาร์ลเบรอที่ดยุ้คแห่งมาร์ลบะระที่ 1|จอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล]]ผู้ที่ต่อมาได้เป็นดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระผู้เป็นแม่ทัพผู้มีความสามารถคนสำคัญของอังกฤษ<ref>{{cite book | last = Field | first = Ophelia | title = Sarah Churchill Duchess of Marlborough, The Queen's Favourite | publisher = St. Martin's Press | date = 2003}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1673 การเปลี่ยนไปนับถือ[[นิกายโรมันคาทอลิก]]ของพระราชบิดาของเจ้าหญิงแอนน์ได้เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไป แต่ยังมีพระราชโองการให้พระธิดาทั้งสองให้คงถูกเลี้ยงอย่างเคร่งครัดใน[[นิกายโปรเตสแทนต์]]ดั้งเดิม<ref>Innes (1913) p. 440</ref> เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1683 เจ้าหญิงแอนน์ได้เข้าอภิเษกสมรสกับ [[จอร์จแห่งเดนมาร์ก เจ้าชายพระราชสวามี|เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก]]ผู้เป็นโปรเตสแทนต์ และพระอนุชาของพระเจ้าแผ่นดินเดนมาร์ก ([[สมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 5 แห่งเดนมาร์ก|พระเจ้าคริสเตียนที่ 5]]) ซึ่งการแต่งงานนี้เป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่นิยมของประชาชนแต่เป็นเป็นการที่ถูกต้องในทางส่วนพระองค์<ref>Gregg (2001) , pp. 32–35</ref> [[ซาราห์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ|ซาราห์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล]]กลายมาเป็นนางสนองพระโอษฐ์ (Lady of the Bedchamber) ซาราห์กับเจ้าหญิงแอนน์ทรงเป็นเพื่อนที่สนิทกันมาก และไม่ทรงถือพระองค์ว่าเป็นเจ้านายกับซาราห์โดยจะเห็นได้จากการที่สตรีสองคนนี้มีชื่อเล่นให้แก่กันว่า มิสซิสมอร์ลีย์ และ มิสซิสฟรีแมน<ref>{{cite book | last = Field | first = Ophelia | title = Sarah Churchill Duchess of Marlborough, The Queen's Favourite | publisher = St. Martin's Press | date = 2003}}</ref>
 
=== การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ===
บรรทัด 58:
 
=== การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ ===
เจ้าหญิงแอนน์ทรงถูกพระเจ้าเจมส์ที่ 2 สั่งห้ามไม่ให้เสด็จไปเยี่ยมเจ้าหญิงแมรีที่เนเธอร์แลนด์ในฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 1688 แต่ทั้งสองยังคงทรงเขียนจดหมายติดต่อกันและเจ้าหญิงแอนน์เองคงจะทรงทราบถึงแผนการการรุกรานของพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 เป็นที่เชื่อกันว่าพระกรณียกิจของแอนน์ระหว่างช่วงเวลานี้มีอิทธิพลมาจากคำแนะนำที่ถวายโดยซาราห์และจอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล<ref name="ne">{{cite encyclopedia|encyclopedia =Encyclopædia Britannica|title = Mary II| publisher = Cambridge University Press| location = London| edition = 11th Ed.| date = 1911}}</ref>—แอนน์ไม่ทรงแสดงความสนับสนุนพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เมื่อเจ้าชายวิลเลียมเสด็จขึ้นฝั่งอังกฤษในเดือนพฤศจิกายน 1688 แต่กลับทรงเขียนถึงเจ้าชายวิลเลียมประกาศสนับสนุนการรุกรานของพระองค์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิลลาออกจากการเป็นข้าราชสำนักของพระเจ้าเจมส์เมื่อวันที่ 24 ในเดือนเดียวกัน, เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์กพระสวามีของแอนน์ทรงลาออกวันรุ่งขึ้น เมื่อพระเจ้าเจมส์เสด็จกลับลอนดอนในวันที่ 26 ก็ทรงพบแอนน์และนางสนองพระโอษฐ์ทรงทำเช่นเดียวกันในคืนวันที่ 25<ref>Innes (1913) , pp. 482–483</ref> พระเจ้าเจมส์จึงทรงสั่งให้กักแอนน์และนางสนองพระโอษฐ์ไว้ใน[[พระราชวังไวท์ฮอล]] แต่แอนน์และนางสนองพระโอษฐ์ก็หนีออกทางบันไดหลังไปพักที่บ้านบาทหลวงแห่งลอนดอนอยู่คืนหนี่งก่อนที่จะไปถึงนอตติงแฮมเมื่อวันที่ 1 ธันวาคมก่อนที่จะทรงประกาศอย่างเป็นทางการว่าไปถึงที่นั่นแล้ว และทรงแต่งตั้งคณะมนตรี จากนั้นก็เสด็จไปเฝ้าเจ้าชายวิลเลียมและกองกำลังติดตามมาที่อ๊อกซฟอร์ด แอนน์ก็เช่นเดียวกับแมรีทรงถูกตำหนิว่าไม่ทรงแสดงความกังวลต่อการหลบหนีของพระเจ้าเจมส์แต่ก็ให้เหตุผลในการกระทำของพระองค์ว่าไม่ทรงชอบการแสดงว่ามีปัญหา แอนน์เสด็จกลับลอนดอนเมื่อวันที่ 19 ธันวาคมเพื่อเข้าเฝ้าพระเจ้าวิลเลียมที่ 3
 
ในปี ค.ศ. 1689 รัฐสภาประกาศว่าการหลบหนีของพระเจ้าเจมส์เป็นการสละราชสมบัติโดยปริยายฉะนั้นบัลลังก์จึงว่างลง รัฐสภาจึงถวายราชบัลลังก์แก่เจ้าหญิงแมรี แต่ทรงยอมรับร่วมกับพระสวามีซึ่งทำให้เป็นสมัยสองกษัตริย์สมัยเดียวในประวัติการปกครองแบบราชาธิปไตยของอังกฤษ<ref>Ward, pp. 250–251</ref> และทรงออก[[พระราชบัญญัติสิทธิ ค.ศ. 1689]] ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์ที่กำหนดให้เจ้าหญิงแอนน์และผู้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์และพระเจ้าวิลเลียม ตามด้วยผู้สืบเชื้อสายของพระเจ้าวิลเลียมที่อาจจะมีในอนาคต
 
=== วิลเลียมและแมรี ===
ไม่นานหลังจากที่ทรงขึ้นครองราชย์ พระเจ้าวิลเลียมและพระราชินีแมรีได้พระราชทานรางวัลให้แก่จอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิลโดยการแต่งตั้งให้เป็น “เอิร์ลแห่งมาร์ลเบรอ”เอิร์ลแห่งมาร์ลบะระ” แต่การปฏิบัติของวิลเลียมและแมรีต่อซาราห์และจอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิลในภายหลังไม่ดีนัก ในปี ค.ศ. 1692 ทรงมีความสงสัยว่า[[จอห์น เชอร์ชิลล์,เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลเบรอที่บะระที่ 1|ลอร์ดมาร์ลเบรอบะระ]]เป็นมีส่วนในการสนับสนุนการฟื้นฟูราชวงศ์สจวต (Jacobitism) พระราชินีนาถแมรีที่ 2 จึงโปรดเกล้าฯ ให้ปลดลอร์ดมาร์ลเบรอบะระออกจากทุกตำแหน่ง เลดีซาราห์ มาร์ลเบรอบะระก็ถูกถอดจากตำแหน่งในพระราชวังตามสามีซึ่งทำให้เจ้าหญิงแอนน์กริ้วและประท้วงโดยการย้ายออกจากพระราชฐานไปประทับอยู่ที่ “บ้านไซออน”[http://commons.wikimedia.org/wiki/Image:Painting_of_Syon_House.jpg] ซึ่งเป็นบ้านของดยุกแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ ทหารรักษาพระองค์ของเจ้าหญิงแอนน์ซึ่งถูกปลดออกจากตำแหน่งเช่นกัน นอกจากนั้นทหารก็ยังถูกสั่งไม่ให้ถวายความเคารพต่อเจ้าชายจอร์จพระสวามีอีกด้วย<ref name="ne" />
 
เมื่อพระราชินีนาถแมรีที่ 2 สวรรคตด้วยโรค[[ฝีดาษ]]เมื่อปี ค.ศ. 1694 พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 จึงทรงปกครองราชบัลลังก์ด้วยพระองค์เองต่อมา ส่วนเจ้าหญิงแอนน์นั้นได้ทรงกลายเป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งไปโดยปริยายตาม[[พระราชบัญญัติสิทธิ ค.ศ. 1689]] เพราะผู้สืบเชื้อสายของพระเจ้าวิลเลียมและพระชายาในอนาคตมีลำดับต่ำกว่าแอนน์ในลำดับการสืบสันติวงศ์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ทรงพยายามปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์กับเจ้าหญิงแอนน์เพื่อเพิ่มความนิยมต่อประชาชนซึ่งไม่ทรงเคยได้รับเท่าเทียมกับพระชายา ทรงคืนบรรดาศักดิ์ต่างๆ ที่เจ้าหญิงแอนน์เคยทรงเป็น พร้อมกับทรงอนุญาตให้เจ้าหญิงแอนน์กลับมาประทับอยู่ที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]] แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ทรงให้เจ้าหญิงแอนน์ออกนอกหน้า และไม่ทรงยอมแต่งตั้งให้เป็น[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ในยามที่ไม่ทรงสามารถปกครองด้วยพระองค์เองได้
 
ในปี ค.ศ. 1695 ทรงเอาใจเจ้าหญิงแอนน์โดยพระราชทานตำแหน่งต่างๆ คืนให้กับลอร์ดมาร์ลเบรอบะระ เป็นการตอบแทนต่อการสนับสนุนของเจ้าหญิงแอนน์ต่อรัฐบาลของพระองค์ แต่ในระยะเดียวกันนี้ ในปี ค.ศ. 1696 ตามคำกล่าวอ้างของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เมื่อเจ้าหญิงแอนน์ทรงใกล้ที่จะได้รับราชบัลลังก์ เจ้าหญิงแอนน์ทรงเขียนจดหมายถึงพระบิดาให้ทรงมาสวมมงกุฏเมื่อพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 สวรรคต และทรงสัญญาว่าจะทรงฟื้นฟูราชบัลลังก์เมื่อมีโอกาส<ref>Gregg (2001) , p. 108 </ref> อีกข่าวลือหนึ่งที่ไม่มีหลักฐานก็ว่าพระเจ้าวิลเลียมทรงตั้งพระทัยที่จะยกราชบัลลังก์หลังจากเสด็จสวรรคตให้แก่พระโอรสของพระเจ้าเจมส์โดยมีข้อแม้ว่าให้การศึกษาแบบ[[นิกายโปรเตสแตนต์|โปรเตสแตนต์]]ซึ่งเป็นข่าวลือที่อาจจะมีส่วนทำให้เจ้าหญิงแอนน์ทรงเป็นกังวลอยู่บ้าง<ref>{{cite book | last = Trevelyan | first = G.M.|title = England Under Queen Anne}}</ref>
 
=== พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ===
บรรทัด 81:
ทันทีที่เจ้าหญิงแอนน์เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถแอนน์ พระองค์ก็ทรงต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับ[[สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน]] ซึ่งเป็นสงครามที่อังกฤษสนับสนุนสิทธิในการครองราชบัลลังก์สเปนของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]และเป็นสงครามที่ต่อเนื่องเรื่อยมาจนสิ้นสมัยของพระองค์และเป็นสงครามที่มีอิทธิพลต่อทั้งนโยบายการต่างประเทศและนโยบายภายในประเทศ
หลังจากนั้นก็ทรงแต่งตั้งพระสวามีขึ้นเป็น “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” (Lord High Admiral) ผู้มีอำนาจสูงสุดในราชนาวี และทรงมอบอำนาจการปกครองทหารบกให้แก่[[จอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลเบรอที่บะระที่ 1|ลอร์ดมาร์ลเบรอบะระ]]ในตำแหน่ง “Captain-General” <ref>Ward, p. 460 </ref> นอกจากนั้นลอร์ดมาร์ลเบรอบะระยังได้รับเกียรติยศอีกหลายอย่างจากพระราชินีนาถแอนน์รวมทั้งได้รับ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์]] [http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Ordergarter.jpg] (Knight of the Garter) และได้รับเลื่อนจากเอิร์ลเป็นดยุก<ref>Lodge, p.240</ref> ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระก็ได้รับตำแหน่งในราชสำนักสูงขึ้นเป็น “เจ้ากรมพระภูษามาลา” (Mistress of the Robes) ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดของสตรีประจำราชสำนัก ผู้มีหน้าที่ดูแลพระภูษามาลาและเครื่องเพชรพลอยของพระราชินีนาถแอนน์
 
=== พระราชบัญญัติสหภาพ ===
เมื่อผ่าน[[พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701]] รัฐสภาอังกฤษมิได้ปรึกษา[[รัฐสภาสกอตแลนด์]]ที่ส่วนหนึ่งมีความประสงค์ที่จะรักษาราชบัลลังก์ไว้กับราชวงศ์สจวตและรักษาสิทธิในการเลือกผู้สืบราชบัลลังก์<ref>Gregg (2001) , pp. 130-131</ref> ทาง[[ราชอาณาจักรสกอตแลนด์]]จึงตอบโต้กลับด้วยการออก[[พระราชบัญญัติเพื่อความปลอดภัย ค.ศ. 1704]] ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ระบุว่าเมื่อสิ้นสุดจากพระราชินีนาถแอนน์แล้ว สกอตแลนด์มีอำนาจที่จะเลือกประมุขพระองค์ต่อไปสำหรับราชบัลลังก์สกอตแลนด์จากผู้สืบเชื้อสายของราชวงศ์ของสกอตแลนด์ (ผู้ที่ได้รับเลือกโดยสกอตแลนด์จะไม่เป็นผู้เดียวกับผู้เดียวกับผู้ปกครอง[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]] นอกจากว่าถ้าสถานะการณ์ทางศาสนา เศรษฐกิจ และทางการเมืองจะเป็นที่ตกลงกันได้) แต่พระราชบัญญัติฉบับนี้มิได้รับการยอมรับจนเมื่อสกอตแลนด์ขู่ว่าจะถอนตัวจากกองทัพของดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระในยุโรปและไม่ยอมเก็บภาษีต่างๆ ตามที่อังกฤษต้องการ
 
แต่ความที่รัฐสภาอังกฤษเกรงว่าสกอตแลนด์จะหันกลับไปเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสถ้าสกอตแลนด์ได้รับเอกราช ทางการอังกฤษจึงได้ออก[[พระราชบัญญัติต่างด้าว ค.ศ. 1705]] (Alien Act 1705) เป็นการตอบโต้ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ระบุว่าอังกฤษจะต่อต้านสกอตแลนด์ทางเศรษฐกิจและจะประกาศให้ชาวสกอตแลนด์เป็นคนต่างด้าวทั้งหมด (ซึ่งเป็นการทำให้มีผลกระทบกระเทือนต่อสิทธิในการเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ของชาวสกอตแลนด์ในอังกฤษ) นอกจากว่าสกอตแลนด์จะยกเลิก “พระราชบัญญัติเพื่อความปลอดภัย” และเข้ารวมตัวกับอังกฤษ สกอตแลนด์เลือกประการหลัง ด้วยเหตุนี้สกอตแลนด์จึงส่งผู้แทนมาเจรจาต่อรองในการรวมตัวกับอังกฤษเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1706 ข้อตกลงได้รับการอนุมัติจากรัฐสภาสกอตแลนด์เมื่อวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1707 ภายใต้[[พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707]]อังกฤษและสกอตแลนด์จึงกลายเป็นอาณาจักรเดียวกันในชื่อ '''“บริเตนใหญ่”''' เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1707 <ref>Benians, pp.90–91</ref>
บรรทัด 91:
ในรัชกาลของพระราชินีนาถแอนน์การปกครองของรัฐสภาวิวัฒนาการแยกเป็นสองพรรค: [[พรรคทอรี]]และ[[พรรควิก (สหราชอาณาจักร)|พรรควิก]] พระองค์เองโปรดพรรคทอรีมากกว่าแต่ก็ทรง “ทน” พรรควิก
 
องค์มนตรีชุดแรกของพระราชินีนาถแอนน์มาจากพรรคทอรีโดยมี[[ซิดนีย์ โกโดลฟิน เอิร์ลแห่งโกโดลฟินที่ 1]] (Sidney Godolphin, 1st Earl of Godolphin) เป็นหัวหน้าแต่พรรควิกซึ่งไม่เห็นด้วยกับพรรคทอรีในการสนับสนุน[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]] พรรควิกยิ่งมีอิทธิพลมากขึ้นเมื่อดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระได้รับชัยชนะใน[[ยุทธการเบล็นไฮม์]]ในปี ค.ศ. 1704 พรรควิกจึงเข้ามาเป็นองค์มนตรีแทนพรรคทอรีจนเกือบหมด ลอร์ดโกโดลฟินถึงแม้ว่าจะเป็นพรรคทอรีแต่ก็สนับสนุนดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระ ฉะนั้นถึงแม้ว่าลอร์ดโกโดลฟินจะเป็นหัวหน้าคณะมุขมนตรีแต่อำนาจที่แท้จริงมาจากดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระและเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ชาร์ลส์ สเป็นเซอร์ เอิร์ลแห่งซันเดอร์แลนด์ที่ 3 และโรเบิร์ต ฮาร์ลีย์ เอิร์ลแห่งอ็อกฟอร์ดและมอร์ติเมอร์
 
=== การสิ้นพระชนม์ของเจ้าชายจอร์จ ===
[[จอร์จแห่งเดนมาร์ก เจ้าชายพระราชสวามี|เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก]]พระสวามีของพระราชินีนาถแอนน์สิ้นพระชนม์เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1708<ref>Gregg (2001) , p. 281</ref> การเป็นผู้นำทางราชนาวีของพระองค์ไม่เป็นที่นิยมต่อพรรควิก ขณะที่ทรงนอนประชวรพรรควิกก็วางแผนที่จะปลดพระองค์จากตำแหน่ง “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” พระราชินีนาถแอนน์จึงทรงขอให้ดยุกแห่งมาร์ลเบรอบะระหยุดยั้งมิให้ยื่นคำรัองที่ว่า
 
พระราชินีนาถแอนน์ทรงโทมนัสจากการสูญเสียพระสวามีเป็นอันมากและสิ่งนี้เองเป็นจุดที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์และดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระพระสหายเก่าเปลี่ยนแปลงไปด้วย ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระมาถึง[[พระราชวังวินด์เซอร์]]ไม่นานหลังจากเจ้าชายจอร์จสิ้นพระชนม์และบังคับให้พระราชินีนาถแอนน์ออกจากพระราชวังวินด์เซอร์ไปประทับที่พระราชวังเซนต์เจมส์ทั้งๆ ที่ไม่ตรงกับพระราชประสงค์ พระราชินีนาถแอนน์ทรงขอร้องว่าให้ทิ้งพระองค์ไว้ให้โศรกเศร้าเพียงลำพัง แต่ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอกลับบะระกลับจัดให้มีคนมาเฝ้าดูแลพระองค์ตลอดเวลา จึงทรงกริ้วดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระที่เจ้ากี้เจ้าการในสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องพระราชประสงค์
 
พรรควิกฉวยโอกาสในการสิ้นพระชนม์ของเจ้าชายจอร์จในขณะที่พระราชินีนาถแอนน์ยังทรงโศรกเศร้าโดยไม่ยอมรับพระราชประสงค์และก่อตั้งรัฐบาลที่นำโดยพรรควิกที่นำโดย ซิดนีย์ โกโดลฟิน เอิร์ลแห่งโกโดลฟินที่ 1 แต่อำนาจของพรรควิกยังถูกจำกัดอยู่เนื่องจากพระราชินีนาถแอนน์ทรงยืนยันที่จะทำหน้าที่ “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” ด้วยพระองค์เองโดยไม่ยอมแต่งตั้งผู้ใดจากพรรควิกมาแทนพระสวามี แต่พรรควิกไม่สนใจและเรียกร้องให้ทรงตั้งเอ็ดเวิร์ด รัสเซลล์ เอิร์ลแห่งอ็อกฟอร์ดที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ต่อต้านคนสำคัญของเจ้าชายจอร์จดำรงตำแหน่งนั้น พระราชินีนาถแอนน์ทรงปฏิเสธอย่างเด็ดขาดและทรงเลือกคนของพระองค์เอง โธมัส เฮอร์เบิร์ต,เอิร์ลแห่งเพ็มโบรคที่ 8 ขึ้นเป็น “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” คนใหม่เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1709 แต่พรรควิกก็สร้างความกดดันจนเอิร์ลแห่งเพ็มโบรคต้องลาออกเพียงเดือนเดียวหลังจากที่ได้รับแต่งตั้ง ในที่สุดพระราชินีนาถแอนน์จึงทรงยอมแต่งตั้งเอ็ดเวิร์ด รัสเซลล์ เอิร์ลแห่งอ็อกฟอร์ดตามที่พรรควิกต้องการ
บรรทัด 114:
รัชกาลของพระราชินีนาถแอนน์เป็นรัชสมัยที่องคมนตรีเริ่มมีอิทธิพลและอำนาจในการปกครองเพิ่มขึ้นและอำนาจของพระมหากษัตริย์ลดลง ในปี ค.ศ. 1708 พระราชินีนาถแอนน์เป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายของอังกฤษที่ทรงใช้อำนาจในการไม่ทรงอนุมัติพระราชบัญญัติ การเปลี่ยนอำนาจจากพระมหากษัตริย์ไปสู่องคมนตรีมาเห็นชัดขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 1 จนที่ปรึกษาประจำพระองค์เซอร์[[โรเบิร์ต วอลโพล เอิร์ลแห่งอ็อกฟอร์ดที่ 1]] (Robert Walpole, 1st Earl of Orford) มักจะถูกบรรยายว่าเป็น “[[นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร]]” คนแรก <ref>{{cite book | last = Eccleshall | first = Robert | title = Biographical Dictionary of British Prime Ministers | publisher = Routledge | date = 1998}}</ref>
 
พระราชินีนาถแอนน์มักจะทรงกังวลกับพระสุขภาพเพราะทรงเป็น[[โรคพอร์ฟิเรีย]] (porphyria) และเพราะความที่ไม่ทรงมีสุขภาพดีนักจึงเป็นการเปิดโอกาสให้เสนาบดีโดยเฉพาะโรเบิร์ต ฮาร์ลีย์ เอิร์ลแห่งอ็อกฟอร์ดและมอร์ติเมอร์ ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ และ บารอนเนสอะบิเกล มาแชมเข้ามามีอิทธิพลทางการตัดสินพระทัยทางเมืองของพระราชินีนาถแอนน์<ref name="SJ" />
 
สมัยของพระราชินีนาถแอนน์เป็นสมัยของศิลปะ วรรณกรรม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ทางสถาปัตยกรรม [[จอห์น แวนบรูห์]]สร้างสิ่งก่อสร้างที่เด่นๆ เช่น[[ว้งเบล็นไฮม์]][http://commons.wikimedia.org/wiki/Image:Blenheim_Palace_IMG_3672.JPG]ให้แก่ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ และ[[คฤหาสน์เฮาวาร์ด]][http://commons.wikimedia.org/wiki/Image:Castle_Howard.jpg]ให้แก่ชาร์ลส์ เฮาวาร์ด เอิร์ลแห่งคาร์ไลสล์ที่ 3 ถึงแม้ว่าสมัยของพระราชินีนาถแอนน์จะไม่มีลักษณะอะไรทางสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ที่เด่น แต่ลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยของพระองค์ก็มาเป็นที่นิยมกันในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในลักษณะที่ถือกันว่าหรูหราโออ่าและใช้รายละเอียดในการตกแต่งมาก ทางด้านวรรณกรรมสมัยนี้มีนักเขียนสำคัญๆ เช่น[[แดเนียล เดอโฟ]], [[อเล็กซานเดอร์ โพพ]] และ [[โจนาทาน สวิฟท์]]
 
ทางกฎหมาย, พระนามของพระราชินีนาถแอนน์มีส่วนเกี่ยวข้องกับกฎหมายลิขสิทธิ์สำคัญฉบับแรกของอังกฤษที่เรียกว่า “[[บทกฎหมายแอนน์]]” (Statute of Anne) ค.ศ. 1709 ซึ่งให้ลิขสิทธิ์งานเขียนต่อผู้ประพันธ์ทั้งหมดแทนที่จะเป็นของสำนักพิมพ์ตามที่เคยเป็นมา<ref>{{cite book | last = Morrissey | first = Lee | title = From the Temple to the Castle: An Architectural History of British Literature, 1660–1760 | publisher = University of Virginia Press | date = 1999 | url = http://books.google.com/books?vid=OCLC02069656&id=klMCAAAAQAAJ&pg=RA2-PA329&lpg=RA2-PA329&dq=%27brandy+nan%27}}</ref>
บรรทัด 139:
 
=== พระราชินีนาถแอนน์ในสมัยนิยม ===
* “เชอร์ชิลล์คนแรก”เชอร์ชิลคนแรก” (The First Churchills) เป็นละครโทรทัศน์ของ[[บีบีซี]]ที่แสดงชีวิตของพระราชินีนาถแอนน์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์จนสวรรคตโดนเน้นความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์กับซาราห์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล
* “Das Grinsende Gesicht” ค.ศ. 1921 ภาพยนตร์เงียบออสเตรียสร้างจากนวนิยายเรื่อง “คนที่หัวเราะ” (The Man Who Laughs) โดย [[วิคเตอร์ ฮูโก]]
* “คนที่หัวเราะ” ค.ศ. 1928 ภาพยนตร์เงียบสร้างจากนวนิยายเรื่อง “คนที่หัวเราะ” โดย [[วิคเตอร์ ฮูโก]]
บรรทัด 211:
* [[พระราชบัญญัติเพื่อความปลอดภัย ค.ศ. 1704]]
* [[การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์]]
* [[จอห์น เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลเบรอที่บะระที่ 1]]
* [[ซาราห์ เชอร์ชิลล์เชอร์ชิล ดัชเชสแห่งมาร์ลเบรอบะระ]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==