ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยนาฏศิลป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความ
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
{{ต้องการอ้างอิง}}
=| name = วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง ==
'''วิทยาลัยนาฏศิลป''' เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัด[[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]] และ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] โดยเปิดสอนเพื่อผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพในด้าน[[นาฏศิลป์]] และ[[ดนตรี]]
| en_name = The College of Dramatic Arts
| image = [[ไฟล์:Bunditpatanasilpa Institute Logo.png|180px]]
| establish_date = {{วันเกิดและอายุ|2477|5|17}}
| type_headman = ผู้อำนวยการ
| headman = ดร.บำรุง พาทยกุล
| color =
| symbol = [[พระพิฆเนศ]]
#| วิทยาลัยนาฏศิลป<braddress = เลขที่ />119 หมู่ 3 [[ต.ตำบลศาลายา]] [[อ.อำเภอพุทธมณฑล]] [[จ.จังหวัดนครปฐม]] 73170
| magazine =
| operate_site =
| website = [http://cda.bpi.ac.th/ cda.bpi.ac.th]
| facebook = [https://www.facebook.com/วิทยาลัยนาฏศิลป-งานเทคโนโลยีสารสนเทศ-607450252641288/ www.facebook.com/วิทยาลัยนาฏศิลป-งานเทคโนโลยีสารสนเทศ-607450252641288]
}}
 
'''วิทยาลัยนาฏศิลป''' ({{lang-en|The College of Dramatic Arts}}) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัด[[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปพัฒนศิลป์]] [[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]] และ[[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] โดยเปิดสอนเพื่อผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพในด้าน[[นาฏศิลป์]] และ[[ดนตรี]]
== ประวัติ ==
วิทยาลัยนาฏศิลป เดิมมีชื่อว่า "โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์" ก่อตั้งโดย พลตรี[[หลวงวิจิตรวาทการ]] เปิดการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2477]] ซึ่งนับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่ให้การศึกษาทั้งวิชาสามัญและวิชาศิลป์
 
== ประวัติวิทยาลัย ==
ในปี [[พ.ศ. 2478]] ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนศิลปากรขึ้น ซึ่งเปิดสอนทางด้านช่างปั้น [[(ปฏิมากรรม)]] ช่างเขียน [[(จิตรกรรม)]] และช่างรัก
'''วิทยาลัยนาฏศิลป''' เดิมมีชื่อว่า "โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์" เปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 นับเป็นสถาบันของชาติแห่งแรกที่ให้การศึกษาทั้งวิชาสามัญและวิชาศิลป ขึ้นอยู่กับ[[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] ผู้ก่อตั้งโรงเรียนนี้คือ พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2478 ทางการมีความประสงค์ที่จะให้วิชาศิลปทางโขน ละคร และดนตรี มารวมอยู่ในสังกัดเดียวกัน จึงได้โอนครูอาจารย์ทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ กับศิลปินประจำราชสำนักของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งเครื่องดนตรี เครื่องโขน เครื่องละครของหลวงบางส่วนจากกระทรวงวัง ([[สำนักพระราชวัง]] ในปัจจุบัน) ให้มาสังกัดกรมศิลปากร กรมศิลปากรจึงได้แก้ไขปรับปรุงการศึกษาของโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 ได้มีคำสั่งตั้งโรงเรียนศิลปากร ([[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ในปัจจุบัน) สอนวิชาช่างปั้น ช่างเขียน และช่างรักขึ้นอยู่กับกรมศิลปากร และให้โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ไปรวมเป็นแผนกหนึ่งของโรงเรียนศิลปากร เรียกชื่อเฉพาะแผนกนี้ว่า "โรงเรียนศิลปากรแผนกนาฏดุริยางค์" ให้การศึกษาวิชาศิลปทางดนตรี ปี่พาทย์ และละคร แต่ยังไม่มีโขน ต่อมาวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2485 ได้ยุบกองโรงเรียนและให้ "แผนกช่าง" ของโรงเรียนศิลปากรไปขึ้นอยู่กับ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] และโอนกรมศิลปากรไปสังกัด[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]] ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2485 กรมศิลปากรปรับปรุงกองดุริยางคศิลป์ เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นกองการสังคีต และโอนแผนกนาฏดุริยางค์จากโรงเรียนศิลปากรขึ้นกับกองการสังคีต เปลี่ยนเป็น "โรงเรียนสังคีตศิลป" ขึ้นอยู่กับแผนกนาฏศิลป แต่เนื่องจากอุปสรรคและ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] รวมทั้งราชการได้คืนสถานที่ไปใช้ราชการอย่างอื่น ระหว่าง พ.ศ. 2485 – พ.ศ. 2487 การศึกษาของโรงเรียนสังคีตศิลปจึงหยุดชะงักไปชั่วระยะหนึ่ง
ต่อมาโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ได้ถูกโอนไปรวมอยู่ในโรงเรียนศิลปากร เรียกว่า "แผนกนาฏดุริยางค์ กองดุริยางคศิลป์" โดยจัดการศึกษาวิชาศิลปทางดนตรี ปี่พาทย์ และละคร
ต่อมา[[กรมศิลปากร]]ได้ปรับปรุง "กองดุริยางคศิลป์" โดยเปลี่ยนชื่อเป็น "แผนกนาฏศิลป กองการสังคีต" พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนสังคีตศิลป” แต่การเรียนการสอนได้หยุดไปชั่วขณะเนื่องจาก[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
พ.ศ. 2488 หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง นายกรัฐมนตรีบัญชาให้แก้ไขปรับปรุงการศึกษาของโรงเรียนสังคีตศิลปใหม่และเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนนาฏศิลป" มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ
ในปี [[พ.ศ. 2488]] โรงเรียนสังคีตศิลป ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "โรงเรียนนาฏศิลป" พร้อมทั้งขยายการศึกษาครอบคลุมทั้งนาฏดุริยางคศิลป์ไทยและสากล หลังจากนั้น จึงได้รับการยกฐานะให้เป็น "วิทยาลัยนาฏศิลป" เมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2515]] และเมื่อสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ขึ้น วิทยาลัยนาฏศิลปทในภูมิภาคอีก 11 แห่ง (พร้อมทั้งวิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง) จึงได้สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์จนถึงปัจจุบัน
# เพื่อเป็นสถานศึกษานาฏศิลปและดุริยางคศิลป์ของทางราชการ
# เพื่อบำรุงรักษาและเผยแพร่นาฏศิลปและดุริยางคศิลป์ประจำชาติไทย
# เพื่อให้ศิลปทางดนตรีและโขน – ละคร ภายในประเทศมีฐานะเป็นที่ยกย่อง
 
เมื่อเปิดโรงเรียนนาฏศิลป ปี พ.ศ. 2488 มีนักเรียนเก่าเหลืออยู่ในโรงเรียนสังคีตศิลป 33 คน เป็นนักเรียนหญิงทั้งสิ้น จึงเปิดรับสมัครนักเรียนชายเข้าฝึกหัดโขน จำนวน 60 คน นับแต่นั้นมา โรงเรียนนาฏศิลปก็ขยายการศึกษาทั้งนาฏดุริยางคศิลป์ไทยและสากล กองการสังคีตมาขึ้นกับกองศิลปศึกษา และได้รับการยกฐานะให้เป็น "วิทยาลัยนาฏศิลป" เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2515
== หลักสูตร ==
* หลักสูตรประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นต้น – รับผู้สำเร็จการศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าศึกษาตามหลักสูตร 3 ปี
* หลักสูตรประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นกลาง – รับนักเรียนต่อเนื่องจากระดับนาฏศิลป์ชั้นต้นปีที่ 3 และนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) เข้าศึกษาตามหลักสูตร 3 ปี
* หลักสูตรประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง (เทียบเท่าอนุปริญญา) – รับนักเรียนต่อเนื่องจากระดับนาฏศิลป์ชั้นกลางเข้าศึกษาต่อ 2 ปี
 
วิทยาลัยนาฏศิลปเป็นสถาบันการศึกษาที่มุ่งผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพ ในด้านนาฏศิลป์ ดนตรี มีการจัดการเรียนการสอนอันประกอบด้วยการศึกษาวิชาสามัญและศิลปะตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดการศึกษาเป็น 3 ระดับ คือ
== วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง ==
# วิทยาลัยนาฏศิลป<br />119 หมู่ 3 [[ต.ศาลายา]] [[อ.พุทธมณฑล]] [[จ.นครปฐม]] 73170
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี]]<br />ศูนย์ราชการกรมศิลปากร จังหวัดสุพรรณบุรี เลขที่ 119 หมู่ที่ 1 [[ถ.สุพรรณบุรี-ชัยนาท]] [[ต.สนามชัย]] [[อ.เมืองสุพรรณบุรี]] [[จ.สุพรรณบุรี]] 72000
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง]]<br />28 [[ต.บางแก้ว]] [[อ.เมืองอ่างทอง]] [[จ.อ่างทอง]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี]]<br />ถ.รามเดโช [[ต.ทะเลชุบศร]] [[อ.เมืองลพบุรี]] [[จ.ลพบุรี]] 15000
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี]]<br />ถ.ชวนะอุทิศ [[ต.วัดใหม่]] [[อ.เมืองจันทบุรี]] [[จ.จันทบุรี]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย]]<br /> ถ.จรดวิถีถ่อง [[ต.บ้านกล้วย]] [[อ.เมืองสุโขทัย]] [[จ.สุโขทัย]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่]]<br />เลขที่ 1 ถ.สุรยวงค์ ซ. 2 [[ต.หายยา]] [[อ.เมืองเชียงใหม่]] [[จ.เชียงใหม่]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา]]<br />เลขที่ 444 หมู่ 10 ถ.มิตรภาพ บ้านดอน [[ต.โคกกรวด]] [[อ.เมืองนครราชสีมา]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด]]<br />เลขที่ 25 [[ถ.กองพลสิบ]] ต.[[ในเมือง]] [[อ.เมืองร้อยเอ็ด]] [[จ.ร้อยเอ็ด]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์]]<br />[[ถ.สนามบิน]] ต.กาฬสินธุ์ [[อ.เมืองกาฬสินธุ์]] [[จ.กาฬสินธุ์]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง]]<br />150 หมู่ที่ 1 [[ต.ควนมะพร้าว]] [[อ.เมืองพัทลุง]] [[จ.พัทลุง]]
# [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช]]<br />หมู่ 11 [[ต.ท่าเรือ]] [[อ.เมืองนครศรีธรรมราช]] [[จ.นครศรีธรรมราช]]
 
* หลักสูตรประกาศนียบัตรระดับนาฏศิลป์ชั้นต้น รับผู้สำเร็จการศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าศึกษาตามหลักสูตร 3 ปี ได้รับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นต้น
==บุคคลที่มีชื่อเสียง==
* หลักสูตรประกาศนียบัตรระดับนาฏศิลป์ชั้นกลาง รับนักเรียนต่อเนื่องจากระดับนาฏศิลป์ชั้นต้นปีที่ 3 และนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) เข้าศึกษาตามหลักสูตร 3 ปี ได้รับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นกลาง
* [[วรนุช ภิรมย์ภักดี]] ( นุ่น ) นักแสดง , พิธีกร
* หลักสูตรประกาศนียบัตรระดับนาฏศิลป์ชั้นสูง (เทียบเท่าอนุปริญญา) – รับนักเรียนต่อเนื่องจากระดับนาฏศิลป์ชั้นกลางเข้าศึกษาต่อ 2 ปี ได้รับประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง หรือเทียบเท่าอนุปริญญา
* นาว [[ทิสานาฏ ศรศึก]] นักแสดง
 
*[[สุดารัตน์ บุตรพรหม]] ( ตุ๊กกี้ ชิงร้อย ) นักแสดงตลก , นักแสดง , พิธีกร
ในปีการศึกษา 2519 ได้ขยายการศึกษาจนถึงระดับปริญญาตรี โดยสมทบกับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ([[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล]] ในปัจจุบัน) ในคณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ รับศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยนาฏศิลปในระดับนาฏศิลป์ชั้นสูง เข้าศึกษาต่ออีก 2 ปี ได้รับปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) ต่อมาในปีการศึกษา 2541 กรมศิลปากรได้จัดตั้ง "[[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]]" ขึ้น โดยจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ทั้งไทยและสากล รับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในระดับนาฏศิลป์ชั้นสูง เข้าศึกษาต่ออีก 2 ปี ในคณะศิลปนาฏดุริยางค์ และคณะศิลปศึกษา
*[[หทัยชนก สวนศรี]] ( ซาย KPN Award 2015 ) นักร้อง , นักแสดง
 
{{คำพูด|''สาธุ โข สิปฺปกํ นาม อปิ ยาทิสกีทิสํ''
 
ขึ้นชื่อว่าศิลปะแม้เช่นใดเช่นหนึ่ง ก็ยังประโยชน์ให้สำเร็จได้
|[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานในโอกาสครบรอบ 60 ปี วิทยาลัยนาฏศิลป เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2537
|left}}
{{clear}}
 
== วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง ==
* วิทยาลัยนาฏศิลป
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง]]
* [[วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช]]
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.cda.bpi.ac.th/pravat.htm ประวัติวิทยาลัยนาฏศิลป]
 
{{รายการอ้างอิง}}
== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]
* [[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]]
* [[วิทยาลัยช่างศิลป]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.cda.bpi.ac.th/ เว็บไซต์วิทยาลัยนาฏศิลป]
* [https://www.facebook.com/วิทยาลัยนาฏศิลป-งานเทคโนโลยีสารสนเทศ-607450252641288/ เฟซบุ๊กวิทยาลัยนาฏศิลป]
* [http://www.thaifolk.com/doc/wangnan.htm ประวัติวังหน้า โดย อรนุช ทัดติ]
 
{{สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์}}
{{พระราชวังบวรสถานมงคล}}
{{สถานศึกษาในเขตพระนคร}}
 
[[หมวดหมู่:วิทยาลัย{{เรียงลำดับ|นาฏศิลป]]}}
[[หมวดหมู่:สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:วิทยาลัยนาฏศิลป|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอาชีวศึกษาในประเทศไทย|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนครปฐม|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:วิทยาลัย|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:การศึกษาในประเทศไทย|นาฏศิลป]]
[[หมวดหมู่:เขตพระนคร|นาฏศิลป]]